งานธุุรกิจ1-แปลง Flipbook PDF

งานธุุรกิจ1-แปลง
Author:  1

54 downloads 131 Views 285KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ถัดไป

1

สารบัญ

ประวัติของการบัญชี

1 .ประวัติของการบัญชี

1

2. ความหมายของการบัญชี

สไลด์ 3

ยุคอุตสาหกรรม(industrial age) เริ่มใน ศตวรรษที่19 เป็ นต้ นมา บริษัทขนาดใหญ่ มีการ จัดท ารายงานผลการด าเนินงานและฐานะ การเงิน (งบดุล และ งบก าไรขาดทุน )เพื่อให้ ทราบสถานะ ของธุรกิจ เพื่อสร้ างความมั่นใจว่ า ผู้บริหารได้ ด าเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ ของเจ้ าของ

2

3 วัตถุประสงค์ การจัดทาบัญชี

3

4 ประเภทของการบัญชี

สไลด์ 3

4

5

5. ประโยชน์ ของข้ อมูลการบัญชี 6 ประเภทของการประกอบธุรกิจ

สไลด์ 5

6-

7 7 ข้ อสมมุตติ ามแม่ บทการบัญชี 8 ข้ อแนะนาในการศึกษาวิชาการบัญชี

8 สไลด์ 6

9

2

ความหมายของการบัญชี

วัตถุประสงค์ การ จัดทาบัญชี

1. สมาคมนักบัญชีของสหรัฐอเมริกา (The American Institute of Certified public Accountants) ได้ ให้ คาจ ากัดความและความหมายของการบัญชีไว้ ว่า “การบัญชีเป็ นศิลปะอย่ างหนึ่งของการจดบันทึก การ จาแนกประเภทและการสรุ ปผลของ เหตุการณ์ ต่างๆ ทาง การเงิน โดยอยู่ในรูปของหน่ วยเงินตรา รวมทัง้ แปล ความหมายของผลสรุ ปที่ได้ รับ ด้ วย” 2. สมาคมนักบัญชี และผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทยได้ ให้ คาจากัด ความและ ความหมายของการบัญชีไว้ ว่า “ การบัญชีคือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จาแนก และสรุ ปข้ อมูล อันเกี่ยวกับ เหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขัน้ สุดท้ ายของการบัญชี ก็คือ การให้ ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็ น ประโยชน์ แก่ บุคคลหลายฝ่ าย และผู้ท่ สี นใจในกิจกรรมของ กิจการ” จากคาจากัดความเบือ้ งต้ นสรุ ปได้ ว่าการบัญชี จะต้ องประกอบด้ วยกร

1. เพื่อจดบันทึกรายการค้ าต่ าง ๆ ที่เกิดขึน้ ของกิจการโดย เรี ยงตามล าดับเหตุการณ์ ก่ อนหลังตามระเบียบและ หลักเกณฑ์ ท่ ถี ูกต้ อง 2. เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการควบคุมและตรวจสอบ 3. เพื่อเป็ นตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายให้ ผ้ ูประกอบธุรกิจท าบัญชี 4. เพื่อให้ ทราบผลการด าเนินงานของกิจการในรอบ ระยะเวลาที่ก าหนด 5. เพื่อให้ ทราบฐานะทางการเงินของ กิจการ 6. เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการวางแผนการด าเนินธุรกิจใน อนาคต 7. เพื่อใช้ เป็ นรายงานต่ อหน่ วยงานของรั ฐบาล และเป็ น แหล่ งข้ อมูลทางการเงินของ

3

4

ประเภทของการบัญชี

1. บัญชีการเงิน (financial accounting) เป็ นบัญชีที่ จัดท าขึ ้นตามหลักการบัญชีที่รับรอ โดยทัว่ ไป โดยมี วัตถุประสงค์ที่จะจัดท าเป็ นข้ อมูลทางการบัญชี เพื่อเสนอต่อ บุคคลภายนอก ได้ แก่ เจ้ าหนี ้ เจ้ าของหรื อผู้ถือหุ้น สถาบัน การเงิน หน่วยงานภาครัฐบาล และผู้สนใจโดยทัว่ ไป 2. 2.บัญชีเพื่อการจัดการ (managerial accounting) หรื อบัญชีบริ หาร เป็ นบัญชีที่จดั ท า ขึ ้นตามความต้ องการของ ฝ่ ายบริ หารของกิจการ โดยมีวตั ถุประสงค์ที่จะจัดท าเป็ น ข้ อมูลทางการเงินที่ เป็ นประโยชน์เพื่อเสนอต่อฝ่ ายบริ หารซึง่ เป็ นบุคคลภายในกิจการ

ประโยชน์ ของข้ อมูลการบัญชี

เพื่อเป็ นหลักฐานในการอ้ างอิง เพื่อให้ ทราบ รายการ สินทรัพย์ ของกิจการ เพื่อเป็ นการ รวบรวมสถิติ เพื่อให้ เป็ นหลักฐานในการ ตรวจสอบความถูกต้ อง และเพื่อให้ ทราบผลการ ดาเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการใน ระยะเวลาหนึ่ง โดยผู้ท่ นี าข้ อมูล ทางการบัญชี ไปใช้ ประโยชน์ มีทงั ้ บุคคลภายในและภายนอก กิจการ

5

6

ประเภทของการประกอบธุรกิจ

การประกอบธุรกิจ สามารถจัดประเภทของการด าเนินธุรกิจได้ 2 ประเภท ได้ แก่ 1. ประเภทธุรกิจจัดตามลักษณะของการประกอบการ ประเภทธุรกิจจัด ตามลักษณะของการประกอบการ สามารถแบ่ งธุรกิจออกได้ เป็ น 2 รูปแบบ คือ 1.1 ธุรกิจเกี่ยวกับการให้ บริการ(service firm) เป็ นธุรกิจที่จัดตัง้ ขึน้ เพื่อให้ บริการแก่ ลูกค้ า โดยได้ รับรายได้ จากการให้ บริการเป็ นหลัก เช่ น โรงแรม โรงภาพยนตร์ อู่ซ่อมรถยนต์ บริษัทขนส่ ง ธนาคาร เป็ นต้ น 1.2 ธุรกิจ เกี่ยวกับการจัดจาหน่ าย (product firm) เป็ นธุรกิจที่จัดตัง้ ขึน้ เพื่อขาย สินค้ า สาเร็จรูปหรือสินค้ าที่ผลิตเอง โดยได้ รับรายได้ จากการขายสินค้ าเป็ น หลัก แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. ธุรกิจซือ้ มาขายไป (merchandising firm) เป็ นธุรกิจที่จาหน่ ายสินค้ า ซึ่งไม่ ได้ ผลิตขึน้ มาเอง แต่ เป็ นการซือ้ สินค้ า มาเพื่อจาหน่ ายอีกต่ อหนึ่ง เช่ น ห้ างสรรพสินค้ า ซูเปอร์ มาร์ เก็ต ร้ านสะดวก ซือ้ ร้ านค้ าปลีกต่ าง ๆ เป็ นต้ น 2. ธุรกิจอุตสาหกรรม (manufacturing firm) เป็ นธุรกิจที่จาหน่ ายสินค้ า ซึ่งผลิตขึน้ มาเอง โดยการซือ้ วัตถุดบิ มาท า การแปรสภาพให้ เป็ นสินค้ าสาเร็จรูปเพื่อจาหน่ ายให้ แก่ ร้ านค้ าส่ ง หรือร้ านค้ า ปลีก เช่ น บริษัทผลิตอาหารสาเร็จรูป โรงงานตัดเย็บเสือ้ ผ้ า โรงงานผลิต รถยนต์ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา เป็ นต้ น

7 2. ประเภทของธุรกิจจัดตามรูปแบบการจัดตัง้ ประเภทของธุรกิจจัดตามรูปแบบการ จัดตัง้ เป็ นการจัดประเภทของธุรกิจโดยพิจารณา จากรูปแบบการจัดตัง้ แบ่ ง ออกเป็ น 3 รูปแบบ คือ 1. กิจการเจ้ าของคนเดียว (single proprietorship) หมายถึง กิจการที่จัดตัง้ และลงทุนโดยบุคคลคนเดียว จะต้ องเป็ นผู้รับผิดชอบทัง้ ต่ อ สินทรัพย์ และต่ อหนีส้ ินทัง้ หมดโดยไม่ จากัด จานวน เช่ น สานักงานทนายความ อู่ ซ่ อมรถยนต์ ร้ านซักรีด ร้ านขายของชา ร้ านให้ เช่ าหนังสือ เป็ นต้ น 2. ห้ างหุ้นส่ วน (partnership) หมายถึง กิจการที่จัดตัง้ ขึน้ ตามประมวลกฎหมาย แพ่ งและ พาณิชย์ ซึ่งบุคคลตัง้ แต่ สองคนขึน้ ไปตกลงเข้ ากันเพื่อกระท ากิจการร่ วมกันด้ วย ประสงค์ ท่ จี ะแบ่ ง ก าไรอันพึงได้ แต่ กิจการที่ท านัน้ แบ่ งเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่ 2.1 ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ (general partnership) 2.2 ห้ างหุ้นส่ วนจ ากัด (limited partnership) 3. บริ ษัทจ ากัด (corporation or limited company) หมายถึง กิจการที่ ก่ อตัง้ จากการร่ วมทุน โดยมีการขายทุนแบ่ งออกเป็ นหุ้น ๆ ละเท่ า ๆ กัน โดยผู้ถือหุ้น ต่ างรับผิดชอบ จ ากัดเพียงไม่ เกินจานวนเงินที่ตนยังส่ งใช้ ไม่ ครบมูลค่ าของหุ้นที่ตน ถือเท่ านัน้ แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท 3.1. บริษัทเอกชนจ ากัด (private company limited) 3.2. บริษัทมหาชนจ ากัด (public company limited) สาหรับการบันทึก รายการทางบัญชีของธุรกิจไม่ ว่าจะเป็ นประเภทหรือรูปแบบใดจะใช้ หลักการบัญชี อย่ างเดียวกัน ส่ วนความแตกต่ างนัน้ จะเป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้ องกับส่ วนของเจ้ าของ ลักษณะ ของรายการค้ าที่เกิดขึน้ และชื่อบัญชีแยกประเภทในหมวดต่ าง ๆ

8

ข้ อสมมุตติ ามแม่ บทการบัญชี

แม่ บทการบัญชี (accounting framework) เป็ นแนวคิดพืน้ ฐาน ในการจัดทาและน าเสนอ งบการเงินแก่ ผ้ ูใช้ งบการเงินที่เป็ น บุคคลภายนอก ซึ่งก าหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตแห่ งประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2542 เพื่อใช้ เป็ น แนวทางในการปรับปรุ งมาตรฐาน การบัญชี ข้ อสมมุตใิ นการจัดทาและ นาเสนองบการเงิน ที่สาคัญมี 2 ประการ คือ 1. เกณฑ์ คงค้ าง(accrual basis) หมายถึงรายการและเหตุการณ์ ทางบัญชีจะรับรู้เมื่อ เกิดขึน้ มิใช่ รับรู้เมื่อมีการรับหรือจ่ ายเงินสดแต่ เพียงอย่ างเดียว โดยรายการต่ าง ๆ จะบันทึกบัญชีและ แสดงในงบการเงินตามรอบระยะเวลาบัญชีท่ ี เกี่ยวข้ องซึ่งเกิดรายการนัน้ ๆ ขึน้ เป็ นเกณฑ์ วัดผลการ ดาเนินงาน กล่ าวคือเมื่อมีรายได้ และค่ าใช้ จ่ายเกิดขึน้ แม้ จะไม่ มีการรับหรือจ่ ายเงิน ในรอบระยะเวลา บัญชีนัน้ ก็จะต้ องบันทึกรายได้ หรือค่ าใช้ จ่ายที่เกิดขึน้ ตามจริงตามรอบระยะเวลาบัญชีนัน้ ๆ 2. การดาเนินงานต่ อเนื่อง (going concern concept) หมายถึง การจัดทา งบการเงินจะทา ขึน้ ตามข้ อสมมุตทิ ่ วี ่ า กิจการจะดาเนินงานอย่ างต่ อเนื่อง และสามารถด ารงอยู่ต่อไปใน อนาคต โดยสมมุตวิ ่ ากิจการไม่ มีเจตนาที่จะเลิกกิจการ ภายในระยะเวลาอันใกล้ หรือหากมีเจตนาจะ เลิกกิจการอันใกล้ จะต้ อง เปิ ดเผยไว้ ในงบการเงิน ซึ่งการจัดท างบการเงินจะต้ องมีวิธีและ หลักเกณฑ์ ท่ ี แตกต่ างกันจากงบการเงินทั่วไป

ข้ อแนะนาในการศึกษาวิชาการบัญชี

วิชาการบัญชี เป็ นลักษณะวิชาที่ท าความเข้ าใจได้ ยาก ถึงแม้ วา่ ในปั จจุบนั จะมี โปรแกรม สาเร็จทางการบัญชีมาช่วยจดบันทึกรายการทางบัญชี และช่วยให้ มีการ ประมวลผลที่ถกู ต้ องและ รวดเร็วก็ตาม ผู้ศกึ ษาก็จะต้ องมีความรู้และความเข้ าใจ เกี่ยวกับหลักการบัญชีให้ ถกู ต้ อง และแม่นย า ก่อน ดังนันเพื ้ ่อให้ การศึกษาสัมฤทธิ์ผล ผู้ศกึ ษาควรให้ ความสนใจควรปฏิบตั ิตามข้ อแนะน าดังต่อไปนี ้ 1. การอ่านตารา ผู้ ศึกษาควรอ่านต าราวิชาการบัญชีแต่ละบทให้ เข้ าใจก่อนเรี ยน เบื ้องต้ นและทบทวนอีก ครัง้ หลังเรี ยน 2. ควรตังใจเรี ้ ยน ท าความเข้ าใจในบทเรี ยน และการท าแบบฝึ กหัด ด้ วยตนเองอย่าง สม่าเสมอ เนื่องจากการศึกษาแต่ละบทเรี ยนมีเนื ้อหาต่อเนื่อง กัน 3. การเขียนตัวเลขและตัวอักษร ควรให้ อา่ นง่าย สะอาด ชัดเจน โดยการเขียน ตัวเลข จะต้ องฝึ กเขียนให้ ตรงหลักกันในแต่ละบรรทัดและทุก ๆ สามหลักจะต้ องใส่ เครื่ องหมาย “ ,” โดยนับจากทางขวามือ ส่วนการเขียนตัวเลขเศษสตางค์ถ้าไม่มี จะต้ องใส่เครื่ องหมาย

9

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.