Data Loading...
ทับเที่ยง เสน่ห์แห่งเมืองตรัง 11 Flipbook PDF
ทับเที่ยง เสน่ห์แห่งเมืองตรัง 11
125 Views
14 Downloads
FLIP PDF 1.88MB
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
ภาษาไทย
ทับเที่ยง
เสน่ห์แห่งเมืองตรัง
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
นางสาวโศภิตา โสภาพ
ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย
ทับเที่ยง
เสน่ห์แห่งเมืองตรัง
ภาพที่ ๑ ทีม่ า : ๑๐๐ ปี เมืองทับเทีย่ ง
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย
ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
โศภิตา โสภาพ ตาบลทับเทีย่ ง อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ๙๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๙๔ ๐๒๐๖๕๙๘ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ พิมพ์ครัง้ แรก ๒๕๖๔ จานวน ๑ เล่ม ราคา ๑๓๐ บาท ออกแบบปก : นางสาวโศภิตา โสภาพ
คำนำ
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย เป็ นหนังสือทีจ่ ดั ทาขึ้นเพื่อ ใช้ในการเรียนรู ้ หนังสือเรียน ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง เล่มนี้ มีเนื้อหาทีม่ ุง่ ส่งเสริมให้ผเู ้ รียนทีม่ ีความสนใจเพิ่มเติมได้รบั ความรูแ้ ละเพิ่มทักษะในด้าน ของการอ่าน การเขียน และชนิดของคา เพื่อเป็ นการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนทีม่ ี ความสนใจเพิ่มเติม ได้มีทกั ษะทัง้ ด้านการอ่าน การเขียน และชนิดของคา เกิดเป็ นความรู ้ ซึง่ เป็ นประโยชน์ตอ่ ตัวผูเ้ รียนในการดาเนินชีวติ และ ประกอบอาชีพในภายภาคหน้า
นางสาวโศภิตา โสภาพ นิสติ สาขาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ชัน้ ปี ที่ ๓
สำรบัญ เรือ่ ง
หน้า
บทที่ ๑ เมืองเก่า เล่าอดีต ๑.กาเนิดทับเทีย่ ง ๒.ความรูเ้ กี่ยวกับการอ่าน กิจกรรมท้ายบท
๒ ๖ ๙
บทที่ ๒ ท้องถิน่ น่ารู ้ ๑.ทีน่ ี่ทบั เทีย่ ง -หอนาฬิกาตรัง -วงเวียนนา้ พุปลาพะยูน ตรัง -ตุก๊ ตุก๊ หัวกบ ๒.ความรูเ้ กี่ยวกับการเขียน กิจกรรมท้ายบท
๑๒ ๑๒ ๑๕ ๑๗ ๑๙ ๒๒
สำรบัญ เรือ่ ง
บทที่ ๓ ของดี เมืองตรัง ๑. ชวนลิ้มชวนลอง -หมูยา่ งเมืองตรัง -ขนมเค้ก ๒. ความรูเ้ กี่ยวกับชนิดของคาไทย -คานาม -คาสรรพนาม -คากริยา -คาวิเศษณ์ -คาบุพบท -คาสันธาน -คาอุทาน กิจกรรมท้ายบท บรรณานุกรม
หน้า
๒๔ ๒๔ ๒๗ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๕ ๓๕ ๓๖ ๓๘ ๓๙
ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งนครตรัง
คำแนะนำกำรใช้หนังสือ หนังสือเรียนสาระความรูเ้ พิ่มเติม รายวิชาภาษาไทย เป็ นหนังสือ เรียนทีจ่ ดั ทาขึ้น สาหรับผูเ้ รียนทีต่ อ้ งการเรียนรู ้ การอ่าน การเขียน และชนิดของคา ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระความรูเ้ พิ่มเติมรายวิชา ภาษาไทย ผูเ้ รียนควรปฏิบตั ดิ งั นี้ ๑. ศึกษาโครงสร้างรายวิชาให้เข้าใจ ให้เข้าใจในหัวข้อและสาระสาคัญ ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวัง และขอบข่ายเนื้อหารายวิชานัน้ ๆ โดยละเอียด ๒. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแต่ละบทอย่างละเอียด และทากิจกรรม ๓. ปฏิบตั กิ ิจกรรมท้ายบทในแต่ละเรือ่ ว เพื่อเป็ นการสรุปความรูค้ วาม เข้าใจของเนื้อหาในเรือ่ งนัน้ ๆ ๔. หนังสือเรียนเล่มนี้มี ๓ บท บทที่ ๑ เมืองเก่า เล่าอดีต บทที่ ๒ ท้องถิ่น น่ารู ้ บทที่ ๓ ของดี เมืองตรัง
ภาพที่ ๒ ทีม่ า : ๑๐๐ ปี เมืองทับเทีย่ ง
บทที่
เมืองเก่ำ เล่ำอดีต
จุดประสงค์การเรียนรู ้ ๑. เรียนรูแ้ ละเข้าใจถึงประวัตคิ วามเป็ นมาของตาบลทับเทีย่ ง อาเภอเมืองตรัง ๒. ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของประวัตแิ ละความเป็ นมาตาบลทับเทีย่ ง อาเภอเมืองตรัง ๓. สามารถนาความรูท้ ไี่ ด้จากการอ่านจับใจความมาใช้ให้เกิดประโยชน์
กำเนิดทับเที่ยง จังหวัดตรัง เป็ นจังหวัดหัวเมืองอยู่ทางภาคใต้ของไทย ติดทะเลอันดามันมหาสมุทร อินเดีย ชายฝั่งทะเลตะววันตก เป็ นเมืองทีต่ งั้ ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จึงไม่ปรากฏว่ามี ประวัติศาสตร์โบราณก่อนหน้านัน้ และเข้าใจว่าในแผ่นดินพระบรมไตรโลกนาถครั้ นกรุงศรี อยุ ธ ยานั้น เมื อ งตรัง ยัง ไม่ มี เพราะพระธรรมนู ญ กล่ า วถึ ง หัว เมื อ งฝ่ ายใต้ มี เพี ย ง นครศรีธรรมราช พัทลุง ไชยา เพชรบุ รี กุย ปราณ ครองวาฬ บางสะพาน ตะกัว่ ทุง่ ตะกัว่ ป่ า ตะนาวศี ทะวาย มะริด และสามโคก ดังนัน้ เมืองตรังแต่เดิมมา น่าจะเป็ นเพียงทางผ่ านไปยัง เมืองนครศรีธรรมราช และเมืองพัทลุงเท่านัน้ ต่อมาเมื่อผูค้ นตัง้ ถิ่นฐานบ้านเรือนมากขึ้น จึง เกิดเมืองในตอนหลัง (http;//www.sites.google.com สืบค้นเมื่อ วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔) สมัยกรุงศรีอยุธยา ในสมัยพระรามาธิบดีท่ี ๒ พ.ศ. ๒๐๕๔ “ตรัง” เป็ นเมืองท่าของเมืองนครศรีธรรมราช ทางด้านทะเลอันดามัน ฝั่งตะวันตกของภาคใต้ โดยจากตานานพราหมณ์ เมืองนครศรีธรรมราช ซึง่ เขียน เมื่อ พ.ศ. ๒๒๗๖ ตรงกับสมัยพระ เจ้าอยูห่ วั บรมโกศ ได้กล่าวถึงเมืองตรังว่า เป็ นเมืองทีพ่ ราหมณ์นาเอาเทวรูปพระนารายณ์ รูป พระลักษมี รูปพระอิศวร รูปหงส์ และชิงช้าทองแดง จากกษัตริยเ์ มืองรามนคร ในประเทศ อินเดีย มาถวายพระรามาธิบดีที่ ๑ ต่อมาถูกพายุแตกพัดเข้าปากนา้ สมัยกรุงธนบุรี ในปี พ.ศ. ๒๓๑๙ พระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงโปรด ฯ ให้แยกหัวเมือง ปั กษ์ใต้ออกจากเมืองนครศรีธรรมราช ดังนัน้ ปี พ.ศ. ๒๓๒๐ เป็ นต้นมา หัวเมือง นครศรีธรรมราช จึงเหลือแค่เมืองตรัง และเมืองท่า (http://www.trangmazing.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔) -๒ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยนี้เมืองตรังแยกเป็ นส่วนตามลักษณะทีต่ งั้ ได้หลายส่วน เริม่ ต้นที่ -พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ทรงโปรดให้เมืองตรัง และเมืองภู รา เข้า ด้ว ยกัน เป็ น เมื อ งตรัง ภู ร า โดยส่ ง พระยาภัก ดี บ ริ ร ัก ษ์ ผู ้ช่ ว ยราช การ เมื อ ง นครศรีธรรมราช ให้เป็ นผูร้ กั ษาเมืองตรังภูรา ตัง้ เมืองที่ “ควนธานี ” เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๕๔ -ในรัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระยานครศรีธรรมราช ในขณะนัน้ ได้กราบ ทูลเสนอ นายม่วง เป็ นเจ้าเมืองตรัง คือ พระอุไทยธานี มีตาแหน่งเป็ นผู ว้ า่ ราชการเมือง ตรัง โดยสมบูรณ์เป็ นคนแรก และได้สร้างหลักเมือง ทีค่ วนธานี -สมัยเมืองกันตังเป็ นศูนย์กลางระหว่างช่วง พ.ศ. ๒๔๓๖-๒๔๕๘ กล่าวว่า เมื่อคราว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั เสด็จประพาสเมืองตรัง ในยุคนั้ นเมืองกันตัง เป็ นเมืองที่เจริญ มีชุมชนชาวจีนทามาค้าขาย มีท่าเรือติดต่อกับมลายู ชาวบ้านปลูก พริกไทยส่งไปขายถึงเกาะหมาก ดังนัน้ จึงมีพระราชดาริให้พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศร ภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ผูว้ า่ ราชการเมืองกระบุรีมาเป็ นเจ้าของเมืองตรัง ซึง่ ถือว่าเป็ น ผูพ้ ฒ ั นาเมืองตรังให้เจริญรุ่งเรือง จนได้รบั สมญานามจากชาวตรังว่าเป็ น “เจ้าแห่งการ พัฒนา” เนื่องจากเป็ น ผูว้ างรากฐานความเจริญให้กบั เมืองตรังมากมาย ทัง้ การนาต้น ยางพารามาจากมลายู มาปลูกที่เมืองกันตังเป็ นแห่งแรก จนทาให้มีการปลูกยางพารา อย่างแพร่หลายภาคใต้ เมื่อมีการจัดการวางผังเมือง ชาวตรังจึงได้รว่ มกันสร้างอนุสาวรีย์ ขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๔ (http://www.tro.moph.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔)
-๓ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
จากกันตังสู่ทบั เที่ ยง ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๔๕๘ จนกระทัง่ ถึ งปั จจุบนั เมื องทับเที่ย ง กลายเป็ นศูนย์กลางเมืองตรัง ระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หวั ได้เสด็จประพาสเมืองกันตัง ซึ่งขณะนัน้ เกิดโรคระบาด และทรงเกรงว่า ศัตรูอาจจะจูโ่ จมทางทะเลได้ อีกทัง้ กันตังเป็ นเมืองปิ ด เนื่องจากติดทะเลไม่สามารถขยาย เมืองออกไปไหนได้ จึงได้มีพระราชดาริให้ยา้ ยเมืองไปอยู่ที่ทบั เที่ยง หรืออาเภอเมืองตรัง ในปั จจุบนั ที่มาของคาว่ า “ทับเที่ยง” สมัยเจ้าพระยายกทัพมาจากเมืองนครศรี ธรรมราช เพื่อไปรบกับทัพไทรบุรี ได้หยุดพักตัง้ ค่าย ณ บริเวณนี้ในเวลา ช่วงเทีย่ ง จึงได้ชอื่ ว่า “ทับเทีย่ ง” แต่นนั้ มา ภาพที่ ๓ : ภูรี ศรีสขุ
-๔ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
สาระน่ารู ้
ภาพที่ ๔ ที่มา : th.Wikipedia.org
ภาพที่ ๕ ที่มา : ๑๐๐ ปี เมืองทับเที่ยง
พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง) ชาวจังหวัดระนอง ผูซ้ งึ่ ได้รบั พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็ นเจ้าเมืองตรัง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓ โดยท่านได้เปลี่ยน โฉมและฟื้ นฟูเศรษฐกิจจังหวัดให้กา้ วหน้าอย่างรวดเร็ว จนกระทัง่ ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๖ หรือเป็ นเวลา ๑๐๐ ปี ล่วงมาแล้ว สวนสาธารณะ “พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี” (คอซิมบี๊ ณ ระนอง) อดีตเจ้า เมืองตรัง บิดาแห่งยาพาราไทย เพื่อให้ประชาชนกราบไหว้สกั การะบูชา พักผ่อนชมธรรมชาติ และได้ออกกาลังกายท่ามกลางความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ สวนสาธารณะ “พระยารัษฎานุประดิษฐ์” หรืออนุสาวรียพ์ ระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศร ภักดี ตัง้ อยูใ่ นเขตเทศบาลเมืองตรัง ห่างจากศาลากลางไปแค่ ๑ กิโลเมตร ในบริเวณวงเวียน เข้าสูป่ ระตูเมืองตรัง ด้านทิศตะวันออก ทีจ่ ะออกไปสูจ่ งั หวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา ตรงจุดนี้ จะมีจดุ เด่นทีม่ ีลกั ษณะเป็ นควนหรือเนินเตี้ย แต่กว้างขวางเต็มไปด้วยพันธุไ์ ม้ตา่ ง ๆ มากมาย (https://th.m.Wikipedia.org/wiki/ สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ .๒๕๖๔) -๕ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
การอ่ า นร้อ ยแก้ว พจนานุ ก รมฉบับ ราชบัณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ให้ ความหมายเกี่ยวกับร้อยแก้วว่า “ความเรียงทีส่ ละสลวย ไพเราะ เหมาะเจาะด้วยเสียงและ ความหมาย”
๒.๑ การอ่านจับใจความ ความหมาย การอ่านจับใจความ เป็ นการอ่านทีม่ ุง่ ค้นหาสาระของเรือ่ งหรือของ หนังสือแต่ละเล่มทีเ่ ป็ นส่วนใจความสาคัญ และส่วนขยายใจความสาคัญของเรือ่ ง ใจความสาคัญของเรือ่ ง คือ ข้อความทีม่ ีสาระคลุมข้อความอืน่ ๆ ในย่อ หน้านัน้ หรือเรือ่ งนัน้ ทัง้ หมด ข้อความอืน่ ๆ เป็ นเพียงส่วนขยายใจความสาคัญเท่านัน้ ข้อความหนึ่งหรือตอนหนึ่งจะมีใจความสาคัญทีส่ ุดเพียงหนึ่งเดียว นอกนัน้ เป็ นใจความ รอง
๒.๑.๑ หลักการอ่านจับใจความ ๑) ตัง้ จุดมุง่ หมายในการอ่านให้ชดั เจน ๒) อ่านเรือ่ งราวอย่างคร่าว ๆ พอเข้าใจและเก็บใจความสาคัญของแต่ละ ย่อหน้า ๓) เมื่ออ่านจบให้ตงั้ คาถามตนเองว่า เรือ่ งทีอ่ า่ น มีใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เมื่อไหร่ อย่างไร ๔) นาสิง่ ทีส่ รุปได้มาเรียบเรียงใจความสาคัญใหม่ดว้ ยสานวนของตนเอง -๖ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๒.๑.๒ ขัน้ ตอนการอ่านจับใจความ ๑. อ่านผ่าน ๆ เพื่อให้รูว้ า่ เรือ่ งทีอ่ า่ นว่าด้วยเรือ่ งอะไร จุดใดเป็ น จุดสาคัญของเรือ่ ง ๒. อ่านให้ละเอียด เพื่อทาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่ควรหยุดอ่าน ระหว่างเรือ่ ง ๓. อ่านซา้ ตอนทีไ่ ม่เข้าใจ และตรวจสอบความเข้าใจบางตอนให้แน่นอน ถูกต้อง ๔. สรุปใจความสาคัญด้วยสานวนภาษาของตนเอง
๒.๑.๓ ใจความสาคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏ ดังนี้ ๑. ประโยคใจความสาคัญอยูต่ อนต้นของย่อหน้า ๒. ประโยคใจความสาคัญอยูต่ อนกลางของย่อหน้า ๓. ประโยคใจความสาคัญอยูต่ อนท้ายของย่อหน้า ๔. ประโยคใจความสาคัญอยูต่ อนต้นและตอนท้ายย่อหน้า
ตัวอย่างตาแหน่งใจความสาคัญ ใจความสาคัญอยู่ตอนต้นของย่อหน้า ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชีวิตเป็ นพื้นฐาน คือเข้าใจธรรมชาติ เข้าใจความเป็ นมนุษย์ และความสัมพันธ์ทเี่ กื้อกูลกันระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ และมนุษย์ กับธรรมชาติ มีความรัก ความเมตต่อเพื่อนมนุษย์และธรรมชชาติอย่างจริงใจ -๗ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ใจความสาคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหน้า ความเครียดทาให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลีนในเลือด ทาให้หวั ใจเต้นเร็ว เส้นเลือด บีบตัว กล้ามเนื้อเขม็งตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติ เกิดอาการปวดหัว ปวดท้อง ใจสัน่ แข้งขาอ่อนแรง ความเครียดจึงเป็ นตัวการทาให้แก่เร็ว
ใจความสาคัญอยู่ตอนกลางของย่อหน้า โดยทัว่ ไปผักทีข่ ายตามท้องตลาดท้องตลาดส่วนใหญ่ เกษตรกรมักใช้สารกาจัด ศัตรูพืช หากไม่มีความรอบคอบในการใช้ จะทาให้เกิดสารตกค้าง ทาให้มีปัญหาต่อ สุขภาพ ฉะนัน้ เมื่อซื้อผักไปรับประทานจึงควรล้างผักด้วยนา้ หลาย ๆ ครัง้ เพราะจะช่วย กาจัดสารตกค้างไปได้บา้ ง บางคนอาจแช่ผกั โดยใช้นา้ ส้มผสมโซเดียมไบคาร์บอเนตก็ได้ แต่อาจทาให้วติ ามินลดลง
ใจความสาคัญทัง้ ตอนต้นและตอนท้ายย่อหน้า การรักษาศีลเพือ่ บังคับตนเองให้มีระเบียบวินยั ในการกระทาทุกสิง่ ทุกอย่าง เช่น เรามาอยูว่ ดั มานุ่งขาวห่มขาว ไม่ใช่ถือแต่ศีลแปดข้อเท่านัน้ แต่เราต้องนึกว่าศีลนัน้ คือ ความมีระเบียบ มีวนิ ยั เราเดินอย่างมีระเบียบมีวนิ ยั นัง่ อย่างมีระเบียบ กินอย่างมี ระเบียบ ทาอะไรอย่างมีระเบียบนัน่ เป็ นคนทีม่ ศี ลี ถ้าเราไม่มีระเบียบก็ไม่มีศลี (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิม่ สาราญ, การใช้ภาษาไทย,๒๕๔๗)
-๘ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
กิจกรรมท้ายบท ๑. การอ่าน คืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………. .………………………………………………………………………………………………………...................... ๑. จงอธิบายความหมายของการอ่านจับใจความ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. .………………………………………………………………………………………………………......................
๒. หลักในการอ่านจับใจความมีอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. .………………………………………………………………………………………………………...................... . -๙ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๓. อ่านเนื้อหาจากบทความต่อไปนี้ แล้วจับใจความสาคัญพร้อมสรุปใจความสาคัญที่ ได้จากการอ่าน ตึกเก่าเมืองตรัง ตัง้ อยูก่ ระจายลัดเลาะเรือ่ ยๆ ในตัวเมืองตรัง ตามถนนจะพบ เห็นตึกเก่าซ่อนตัวอยูเ่ ป็ นระยะ ลักษณะของตึกจะเป็ นตึกในรูปแบบชิโนโปรตุกิสคล้าย กับเมืองภูเก็ต ตึกเก่ากระจายอยูท่ วั่ ไปทัง้ ในย่านตลาดสด และย่านการค้าใกล้กบั สถานี รถไฟ หอนาฬิกาตรัง ซึง่ สามารถเดินชมเมืองได้ตงั้ แต่เช้า โดยเริม่ จากโปรแกรมอาหาร พื้นเมืองของจังหวัดตรังทีข่ ้ นึ ชือ่ เช่น ติม่ ซา ขนมจีบ ซาลาเปา ฮะเก๋า ปาท่องโก๋ ฯลฯ กับกาแฟ ชาร้อน หรือจะเป็ นหมูยา่ งกับกาแฟร้อน เป็ นมื้อเช้าอย่างคนตรังขนานแท้ นอกจากชมตึกเก่าแล้ว บริเวณถนนราชดาเนิน สีแ่ ยกท่ากลาง ภาพวาด ๓ มิติ บนฝาผนังเก่าทรงชิโนโปรตุกิส จังหวัดตรัง ซึง่ ทางสโมสรโนตารีต่ รังจัดทาขึ้นเพื่อ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วและฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี เมืองทับเทีย่ ง
สรุปใจความสาคัญทีไ่ ด้จากการอ่าน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………...................................... ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. -๑๐ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ภาพที่ ๖ ที่มา : http://www.addtrang.com/web/gallery/
บทที่ จุดประสงค์การเรียนรู ้ ๑. เล็งเห็นถึงความสาคัญของมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่นรวมไปถึงความเป็ น เอกลักษณ์ของตาบลทับเทีย่ ง อาเภอเมืองตรัง ๒.สามารถเข้าใจและเรียนรูถ้ ึงภูมิปัญญาท้องถิ่นตาบลทับเทีย่ ง อาเภอเมืองตรังได้ ๓. สามารถนาความรูท้ ไี่ ด้จากการทากิจกรรมท้ายบท เรือ่ งการเขียนมาใช้ให้เกิด ประโยชน์
ที่นี่ ทับเที่ยง
หอนาฬิกาตรัง หอนาฬิกา คือสิง่ ก่อสร้างทีป่ ระกอบไปด้วยหน้าปั ดนาฬิกาตัง้ แต่หนึ่งหน้าขึ้นไป ส่วนมากจะสร้างไว้ ในสถานทีท่ สี่ าคัญต่าง ๆ มีทงั้ ทีเ่ ป็ นหอโดด ๆ และมีทตี่ ดิ กับอาคารอืน่ ๆ บางทีก็มี เสียงระฆังดังเป็ นช่วงเวลาหนึ่ง... “นี่ ๆ ทาไมเราต้องมาถ่ายรูปกันทีห่ อนาฬิกานี่ดว้ ยล่ะ ไม่เห็นว่ามันจะสวยเลย ...” หญิงสาววัยรุน่ ไว้ผมทรงหางม้าคนหนึ่ง อดถามขึ้นมาไม่ได้เมือ่ เห็นว่าเพื่อนของ เธอนัน้ ซึง่ เป็ นคนในพื้นที่ พาเธอมาถ่ายรูปทีห่ อนาฬิกาของจังหวัดตรัง ทัง้ ๆ ทีบ่ ริเวณ นัน้ มีรถวิง่ ผ่านไปมาแบบนี้ ยิง่ ทาให้รูปดูแย่ลงมาอีก “ก็ทนี่ ี่เป็ นสถานทีส่ าคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดตรังเลยนะ ถ้าเธอไม่ได้มาถ่ายหอ นาฬิกาทีน่ ี่ ก็เหมือนกับมาไม่ถึงจังหวัดตรังถิ่นฉันน่ะสิ” หญิงสาวคนในพื้นทีเ่ อ่ยตอบ “เหรอ…” ด้วยความสงสัยของเพื่อนไว้ผมทรงหางม้ายังคงมีข้ นึ มากมายท่ามกลางความสงสัยนัน้ เธอจึงตัดสินใจพูดอะไรบางอย่าง “แต่มนั ก็เป็ นแค่หอนาฬิกาเก่า ๆ ทีต่ งั้ อยูก่ ลางสีแ่ ยกเองไม่ใช่เหรอ” ความสงสัยจะคลายลงได้ เมื่อหญิงสาวคนในพื้นทีอ่ ธิบายถึงเรือ่ งราวต่าง ๆ ของหอ นาฬิกาแห่งนี้ให้แก่เพื่อนผูม้ แี ต่ความสงสัย “ทีน่ ี่เมื่อก่อนเคยเป็ นหอกระจายข่าวของเทศบาลนครตรังน่ะ โครงสร้างในสมัย นัน้ ก็ไม่เหมือนกับตอนนี้ทเี่ ป็ นอิฐเป็ นปูนนะ มันสร้างขึ้นมาด้วยไม้ เมื่อก่อนทาง -๑๒ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
เทศบาลจะถ่ายทอดข่าวกระจายเสียงเป็ นประจาทุกเช้า-เย็น คนทีน่ ี่ถือว่าเป็ นชุมชนทีฟ่ ัง ข่าวและเหตุการณ์บา้ นเมืองต่าง ๆ แต่ตอ่ มาทางเทศบาลได้สร้างหอนาฬิกาขึ้นมาแทน และได้มีการติดตัง้ ระบบอักษรวิง่ ทาให้รูปร่างของมันต่างออกไปจากเดิม และได้มีการ ปรับปรุงอีกครัง้ โดยถอดระบบอักษรวิง่ ออก ทาให้หอนาฬิกากลับคืนสูส่ ภาพเดิม ตามทีไ่ ด้เห็นกันอยูใ่ นปั จจุบนั ” เธออธิบายให้เพื่อนฟั งอย่างใจเย็น ไม่รีบร้อน “ทุกสถานทีล่ ว้ นมีเหตุการณ์ตา่ ง ๆ มากมายทีส่ าคัญ หอนาฬิกานี่ก็ไม่ตา่ งกัน หรอกนะ แต่เพราะว่าหลายคนให้ความสาคัญกับมัน ดังนัน้ ทีน่ ี่จงึ ยังคงเป็ นอีกสถานที่ หนึ่งทีถ่ ือว่ามีความสาคัญอย่างหนึ่งกับจังหวัดตรังแห่งนี้” “เข้าใจแล้วว่าทาไมมันถึงกลายเป็ นสถานทีส่ าคัญ ก็เพราะแบบนี้นี่เอง…” หญิงสาวคนในพื้นทีห่ นั ไปมองเพื่อนทีท่ าท่าเข้าใจอย่างจริงจังก็อดอมยิ้มออกมาไม่ได้ “ถ้ามาตอนคา่ หอนาฬิกานี่ก็สวยไม่เบาเลยนะ มีคนเคยบอกมาอย่างนัน้ แต่ก็ ยังนึกไม่ออกเหมือนกันว่ามันจะสวยยังไง ดังนัน้ …” หญิงสาวคนในพื้นทีเ่ อ่ยเว้นไว้ พลางมองท่าทางของผูเ้ ป็ นเพื่อน “อื้ม! เราค่อยมาถ่ายรูปทีน่ ี่กนั อีกตอนคา่ แล้วกันเนอะ”
ภาพที่ ๗ ที่มา : www.booking.com -๑๓ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
สาระน่ารู ้
ภาพที่ ๙ ที่มา : ๑๐๐ ปี เมืองทับเที่ยง
ภาพที่ ๘ : ยมาภรณ์ ช่วยเอื้อ
หอนาฬิกาตรัง บริเวณสีแ่ ยกหอนาฬิกา เดิมเป็ นทีต่ งั้ “หอกระจายข่าว” ของเทศบาลเมืองตรัง มีโครงสร้างเป็ นไม้ สร้างสมัยนายทุน่ อ่อนสนิท เป็ นนายกเทศมนตรี ชาวบ้านเรียกวันว่า “เสาแหลงได้” เนื่องจากเทศบาลจะถ่ายทอดข่าววิทยุกระจายเสียงเป็ นประจาทัง้ เช้าและ เย็น คนทับเทีย่ งถือเป็ นทีช่ ุมนุมฟังข่าวและเหตุกาณ์บา้ นเมือง พ.ศ.๒๕๐๔ เทศบาลเมืองตรัง สร้างหอนาฬิกาขึ้นแทน ความสูงวัดได้ ๑๕ เมตร และในพ.ศ.๒๕๓๙ ได้มีการติดตัง้ ระบบอักษรวิง่ ทาให้มีรูปทรงเปลี่ยนไปจากเดิม ต่อมา ปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้ปรับปรุงอีกครัง้ โดยถอดอักษรวิง่ ออกทาให้นอนาฬิกากลับมาคืนสาพ เดิม (หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็0พระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชานีนาถ ตรัง)
-๑๔ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
วงเวียนนา้ พุปลาพะยูนตรัง “เอาล่ะ เรามาถึงกันแล้ว” “ว้าว! นา้ พุนี่สวยมากเลย” หญิงสาวพูดออกมา พลางชี้น้ ิวนับดูไปทีละส่วน “สุดยอด... มีตงั้ สีช่ นั้ แหนะ แถมแต่ละชัน้ ยังมีเรือ่ งราววรรณคดีเสียด้วย ชัน้ บนสุดเป็ นรูปพรานบุญจับกินรีจากเรือ่ งพระสุธนมโนราห์” “ชัน้ รองลงมาเป็ นรูปนางเงือกจากเรือ่ งพระอภัยมณี...” “ถัดลงมาอีกก็เป็ นม้านิลมังกรจากเรือ่ งเดียวกัน และสุดท้าย...ปลาพะยูน เหรอ?” หญิงสาวเอ่ยออกมาเบา ๆ ด้วยความสงสัย ก่อนทีจ่ ะหันไปหาคนทีพ่ าเธอมา “นี่ ขอถามหน่อยสิ ทาไมชัน้ ล่างสุดต้องเป็ นรูปปลาพะยูนด้วยล่ะ?” “...ทีน่ ี่มีสตั ว์อนุรกั ษ์ประจาจังหวัดอยูน่ ่ะ” ชายหนุ่มตอบ “หรือก็คอื ...” หญิงสาวเอ่ยเบา ๆ “ใช่ ก็ปลาพะยูนยังไงล่ะ” ชายหนุ่มตอบกลับ
-๑๕ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
สาระน่ารู ้
ภาพที่ ๑๑ : ยมาภรณ์ ช่วยเอื้อ
ภาพที่ ๑๐ : ๑๐๐ ปี เมืองทับเที่ยง
วงเวียนนา้ พุปลาพะยูน วงเวียนนา้ พุปลาพะยูนตรัง เป็ นประติมากรรมทีต่ งั้ อยูท่ ถี่ นนพัทลุงบริเวณทาง ขึ้นจวนผูว้ า่ ราชการจังหวัดตรัง เป็ นวงเวียนนา้ พุขนาดใหญ่ ๔ ชัน้ โดยแต่ละชัน้ เป็ นการ บอกเล่าเรือ่ งราวของวรรณคดีไทย ซึง่ ชัน้ บนสุดเป็ นรูปพรานบุญจับกินรี จากเรือ่ งพระ สุธนมโนราห์ ชัน้ รองลงมาเป็ นรูปนางเงือก จากเรือ่ งพระอภัยมณี ถัดลงมาอีกก็เป็ นม้า นิลมังกรจากเรือ่ งพระอภัยมณีและชัน้ ล่างเป็ นรูปปลาพะยูน ซึง่ เป็ นสัตว์อนุรกั ษ์ประจา จังหวัดตรัง (องค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง)
-๑๖ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ตุก๊ ตุก๊ หัวกบ “แล้ววันนี้เราจะไปเทีย่ วกันยังไงล่ะ” หญิงสาวเอ่ยออกมาด้วยความสงสัย “หา พูดอะไรของเธอกัน มันก็ตอ้ งนัง่ รถไปไม่ใช่หรือไง” “ฉันรู ้ แต่วา่ เราจะไปรถอะไรกันต่างหาก วินมอเตอร์ไซค์ รถบัส รถเมย์ หรือ แท็กซีล่ ะ่ ” “โอ้โห แบบนัน้ มันไม่ได้บรรยากาศน่ะสิ อีกอย่างใครเขาไปชมเมืองด้วยรถแบบ นัน้ กัน” “อ้าว ก็ฉนั ไม่รูน้ ี่ ว่าเราจะไปชมเมืองกัน นึกว่าไปเทีย่ วห้างอะไรพวกนัน้ เสียอีก” เธอส่งเสียงออกมาเบา ๆ แต่มีหรือทีเ่ พื่อนของเธอจะไม่ได้ยนิ “ห้างน่ะ ทีไ่ หนก็เหมือนกัน แต่ภายในตัวเมืองเนี่ย พลาดไม่ได้เลยล่ะ” “โอเคค่ะ งัน้ ก็เชิญนาไปเลยค่ะ” “ดี งัน้ เรามาเริม่ จาก... เหมารถแล้วกัน”
“เห รถตุก๊ ๆ เหรอ แต่รูปร่างแปลก ๆ จัง” “เขาเรียกรถตุก๊ ๆ หัวกบจ้ะ” “อ๋อ ข้างหน้ามันเหมือนกบนี่เอง ถึงเรียกว่ารถตุก๊ ๆ หัวกบ” -๑๗ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
สาระน่ารู ้
ภาพที่ ๑๒ ที่มา : www.reviewtrang.com
ตุก๊ ตุก๊ หัวกบ ตรัง รถตุก๊ ตุก๊ หัวกบรุน่ ดัง้ เดิม ถูกส่งลงเรือจากญีป่ ุ่ น แล้วมาต่อรถไฟ ไปเมืองตรัง ลักษณะตัวรถจะเป็ นกระบะสามล้อขนาดเล็กไม่มหี ลังคาครอบด้านหลัง ต่อมาช่างไทยได้ ปรับแต่ง เพิ่มหลังคาเข้าไปเพื่อกันร้อนกันฝนให้ผโู ้ ดยสาร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของพื้นทีใ่ น เขตเมืองตรังส่วนใหญ่ เป็ นลอนลูกฟูกหรือทีค่ นพื้นถิ่นเรียกว่า “ควน” แปลว่า เนิน การใช้ รถสามล้อเครือ่ งทุน่ แรง จึงมีความเหมาะสมและสะดวก สามารถซอกซอนไปตามซอกซอยคับ แคบได้โดยง่าย ปั จจุบนั ในตัวเมืองตรัง ยังเหลือรถตุก๊ ตุก๊ หัวกบให้เห็นกว่า ๓๐๐ คัน โดยมีการ รวมกลุม่ จัดตัง้ เป็ นชุมรมสามล้อเครือ่ ง เพื่ออนุรกั ษ์รถตุก๊ ตุก๊ ให้คงอยูค่ เู่ มืองตรังต่อไป จึงไม่ น่าแปลกหากจะเห็นนักท่องเทีย่ วทีไ่ ปเยือนตรังส่วนใหญ่ โดยเฉพาะนักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติ มักจะไม่พลาดการนัง่ รถตุก๊ ตุก๊ หัวกบตระเวนรอบเมือง (https://www.thaiscooter.com/foruns/showthread.php?=335443/ สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๔) -๑๘ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๒. ความรูเ้ กี่ยวกับการเขียน ความหมาย (ประภาศรี สีหอาไพ,๒๕๒๗) การเขียน คือ วิธีการสือ่ ความหมายทีเ่ ป็ น ผลผลิตทางความคิด จากความรูข้ องผูส้ ง่ สารแสดงออกมาทางลายลักณ์อกั ษรภาษาไทย
ความสาคัญ ๑. ช่วยในเรือ่ งของการถ่ายทอดและบันทึกข้อมูล ๒. ช่วยในเรือ่ งของการพัฒนาสติปัญญาและอารมณ์ ๓. ช่วยในเรือ่ งของการสร้างความเข้าใจ ๔. ช่วยในเรือ่ งของการอธิบาย ๕. ช่วยในเรือ่ งของการเล่าเรือ่ ง
วัตถุประสงค์ของการเขียน ๑. เป็ นการแจ้งให้ทราบ (to inform) ๒. เป็ นการขอร้อง (to request) ๓. เป็ นการยืนยัน (to confirm) ๔. เป็ นการโน้มน้าว (to persuade) ๕. เป็ นการสอบถาม (to inquire) ๖. เป็ นการร้องเรียน (to complain
ลักษณะการเขียนที่ดี ๑. กาหนดวัตถุประสงค์ในการเขียน ๒. เลือกรูปแบบการเขียนทีเ่ หมาะสม -๑๙ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ลักษณะการเขียนที่ดี ๑. กาหนดวัตถุประสงค์ในการเขียน ๒. เลือกรูปแบบการเขียนทีเ่ หมาะสม ๓. ใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย เหมาะสม ๔. พิจารณากลุม่ ผูอ้ า่ น จัดลาดับความคิด ๕. เขียนอย่างชัดเจน สมบูรณ์ และน่าสนใจ
จุดมุ่งหมายของการเขียน (สิทธา พินิจภูวดล และคณะ, ๒๕๑๔) กล่าวถึงการเขียนว่า สาหรับ จุดมุง่ หมายของการเขียนหลักๆนัน้ ก็เพื่อการสือ่ สารหรือสือ่ ความหมายซึง่ มีความหมาย ทีแ่ ตกต่างกันออกไป การเขียนอาจทาขึ้นเพื่อจุดมุง่ หมายมากกว่าหนึง่ จุดมุง่ หมาย ซึง่ สามารถจาแนกออกได้ ดังนี้
๑. การเขียนเพือ่ เล่าเรือ่ ง เป็ นการเขียนเพื่อถ่ายทอดเรือ่ งราว ประสบการณ์ความรู ้ โดย นาเสนอข้อมูลทีถ่ ูกต้องตามความเป็ นจริง และมีลาดับขัน้ ตอนในการนาเสนอทีช่ ดั เจน การเขียนอาจเรียงตามลาดับเหตุการณ์ โดยภาษาทีใ่ ช้ตอ้ งกระชับรัดกุมและเข้าใจง่าย
๒. การเขียนเพือ่ อธิบาย เป็ นการเขียนชี้แจง ไขปั ญหา บอกวิธที าสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง โดย มุง่ หวังให้ผอู ้ า่ นเกิดความเข้าใจ จึงต้องเขียนตามลาดับขัน้ ตอน เหตุการณ์ เหตุผล โดย แบ่งเป็ นหัวข้อหรือย่อหน้าย่อย ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจง่ายขึ้น -๒๐ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๓. การเขียนเพือ่ แสดงความคิดเห็น เป็ นการเขียนแสดงความคิดของผูเ้ ขียนในเรือ่ งต่าง ๆ ซึง่ อาจเป็ นเรือ่ ง ของการเสนอแนวความคิด คาแนะนา ข้อคิดเห็น ข้อเตือนใจ โดยผูเ้ ขียนต้องมีขอ้ มูล หรือประเด็นที่ จะกล่าวถึง จากนัน้ จึงแสดงความคิดของตนทีอ่ าจสนับสนุนหรือขัดแย้ง หรือนาเสนอแนวคิดใหม่ เพิ่มเติมจากประเด็นข้อมูลทีม่ ีอยู่ เพื่อให้ผอู ้ า่ นค้อยตามความคิดเห็นของผูเ้ ขียน
๔. การเขียนเพือ่ ชักจูงใจ เป็ นการเขียนโน้มน้าวเชิญชวนให้ผอู ้ า่ นสนใจในข้อเขียนทีน่ าเสนอ ซึง่ รวมถึงการเขียนเพื่อเปลี่ยนความรูส้ กึ ทัศนคติของผูอ้ า่ นให้คล้อยตามกับข้อเขียนด้วย ผูเ้ ขียน จาเป็ นต้องมีความรูค้ วามเข้าใจในหลักจิตวิทยาพื้นฐานของมนุษย์ เพื่อเลือกใช้วธิ ีจงู ใจได้เหมาะสมกับ บุคคล
๕. การเขียนเพือ่ ธุรกิจ เป็ นการเขียนทีผ่ เู ้ ขียนมีจดุ ประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ภาษาทีใ่ ช้ตอ้ ง เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน
๖. การเขียนเพือ่ ล้อเลียนหรือเสียดสี เป็ นการเขียนทีม่ ีวตั ถุประสงค์ในการเขียนเพื่อตาหนิสง่ิ ใดสิง่ หนึ่ง อาจเป็ น บุคคลหรือสถานการณ์ ภาษาทีใ่ ช้ตอ้ งสุภาพ นุ่มนวล
๗. การเขียนเพือ่ บอกให้ทราบข้อเท็จจริง เป็ นการเขียนของทางราชการส่วนใหญ่ เช่น การเขียนประกาศ คาสัง่ ระเบียบ ข้อบังคับ ฯลฯ ภาษาทีใ่ ช้ตอ้ งเป็ นภาษาราชการ -๒๑ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
กิจกรรมท้ายบท ๑.จงอธิบายความหมายของการเขียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..……………………….…… …………………………………………………………………………........................................................... ๒.ลักษณะของการเขียนทีด่ ี ควรมีลกั ษณะอย่างไร จงอธิบาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..…………………………… ………………………………………………………………………….......................................................... ๓.จุดมุง่ หมายของการเขียน ประกอบด้วยอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..…………………………… ………………………………………………………………………….......................................................... -๒๒ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ภาพที่ ๑๓ ที่มา : http://www.addtrang.com/web/gallery/
บทที่ จุดประสงค์การเรียนรู ้ ๑. สามารถเรียนรูแ้ ละเข้าใจถึงวิถีชวี ติ ความเป็ นอยูข่ องชาวตาบลทับเทีย่ ง จังหวัดตรัง ๒. เล็งเห็นถึงวิถีชวี ติ ด้านอาหารการกินของชาวตาบลทับเทีย่ ง จังหวัดตรัง ๓. สามารถนาความรูท้ ไี่ ด้จากเรือ่ งของหลักภาษาไทย และการทากิจกรรมท้ายบทมาใช้ให้ เกิดประโยชน์
ชวนลิ้ม ชวนลอง
หมูย่างเมืองตรัง “แม่วนั นี้มีอะไรกินบ้าง” เด็กชายบอม ตัวอ้วนกลมวิง่ เข้ามาพร้อมเสียงร้องถาม แต่ไกล “กินอะไรดีนะ วันนี้...” แม่ตอบมาพลางทาหน้าคิดหนัก “วันนี้นา้ วรรณ กับพี่ พลอยจะพาไปกินอาหารเช้านี่นา” “บอมอยากกินอะไรคิดไว้คอ่ ยบอกน้าวรรณนะ” “ครับผม กินไรดีนา้ กินไรดี” เด็กชายตัวอ้วนยืนคิดอย่างใจจดใจจ่อ สักพักเสียง โทรศัพท์ของแม่ดงั ขึ้น “วรรณถึงแล้วหรอ ได้ๆเดีย๋ วพี่กบั บอมออกไป แค่น้ ีนะ”พร้อมกับ วางสาย ก่อนจะหันมาเรียกลูกชายทีย่ นื คิดรออยูใ่ กล้ๆ ไปบอม น้าวรรณมาแล้ว แม่ล็อค ประตูบา้ นด้วยกุญแจดอกโตก่อนจะเดินไปขึ้นรถน้าวรรณทีจ่ อดรออยู่ เมื่อเปิ ดประตูเข้าไป ก็เจอน้องพลอยทีย่ กมือสวัสดี “พี่พลอย พี่พลอยวันนี้อยากกินอะไร เนี่ยน้องบอมคิดไม่ตกเลยว่าจะกินอะไรดี ช่วยน้องคิดหน่อยเถอะ ติม่ ซาก็อยาก ซาลาเปา ข้าวเหนียวไก่ทอด โจ๊ก ร้อนๆ จะโก๊ย สังขยา ยัดไส่ขนมจีบราดซอสสีแดง” “เขาเรียกว่าส้มเจื้อง” พี่พลอยบอกพลางส่ายหน้า กับความช่างเลือกกินของน้องชาย “วรรณล่ะกินอะไรดี วรรณอยากกินหมูยา่ ง ไม่ได้กนิ นานแล้ว” “พลอยล่ะลูกอยากกินอะไร นานๆ มาตรังต้องกินเยอะๆนะลูก” เมื่อมาถึงร้านเราเกือบหาทีจ่ อดรถไม่ได้ เพราะร้านกาแฟตอนเช้าเป็ นทีน่ ิยมมากใน -๒๔ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
เมืองตรังจะมีผคู ้ นมานัง่ รอพบปะเพื่อนฝูงกัน แทบทุกวันก็วา่ ได้ เมื่อเราไปนัง่ ทีร่ า้ นพนักงานจะมารับออเดอร์เครือ่ งดืม่ น้องพลอยสัง่ โกโก้เย็น แม่กบั น้าวรรณสัง่ กาแฟร้อน ส่วนบอมสัง่ นมสีชมพูสวยๆ เมือ่ พนักงานจดรายการนาไปแล้ว ก็ถึงเวลาทีบ่ อมรอคอย เมื่อพนักงานยกถาดมาวาง น้องบอมก็หยิบๆๆๆจนแม่ ต้องห้าม “บอมกินหมดหรอลูก” “แค่น้ ีก็ได้ครับ น้องมีหมูยา่ งมัย้ ” “มีคะ่ ” “งัน้ เอาหมูยา่ งสองจานนะ” เมื่อพนักงานเอาหมูยา่ งมาวาง “ว้าว หมูยา่ งหนังกรอบ” น้องบอมไม่รอช้ารีบหยิบเข้าปากพลางเคีย่ วอย่าง รวดเร็ว น้องพลอยลองกินนี่ ของขึ้นชือ่ เมืองตรังเลยนะ น้องพลอยหยิบไปลองชิม หมูที่ มีความกรอบของหนังทีม่ ีสนี า้ ตาลปนดาเนื่องจากความร้อน กลิ่นเครือ่ งปรุงผสมกับ กลิ่นไหม้เมื่อเคีย่ วความขุมชืน่ ของหมูทหี่ นึบๆกับความหวานกลมกล่อมทีแ่ ผ่ไปทัง้ ปาก จนน้องพลอยรูส้ กึ ได้ “อร่อยมากๆ ค่ะ หนูเคยกินทีก่ รุงเทพทีเ่ ขาออกงานไม่เห็นอร่อยเท่านี้เลย” “ไม่ได้แค่ความอร่อยนะลูก เมืองตรังของกินอร่อยทุกอย่างโดยเฉพาะหมูยา่ ง เนื่องจากเราได้รบั การถ่ายทอดมาจากเมืองจีน เป็ นอาหารทีท่ าขึ้นถวายฮ่องเต้เชียวนะ ดีนะทีไ่ ม่มฮี อ่ งเต้แล้วเราถึงได้มโี อกาสกินหมูยา่ งอร่อยๆเช่นนี้ แม่คะเราซื้อกลับไปกินที่ บ้านด้วยนะคะพลอยชอบ” “ได้สลิ ูก” “น้าวรรณครับบอมอิม่ แล้ว ไว้คราวหน้าน้าวรรณกับพี่พลอยมาตรังอีก น้อง บอมจะพาไปกินของอร่อยอย่างอืน่ อีกนะครับ” “ได้สบิ อม” น้าวรรณยิ้มรับ เมื่อจ่ายเงินเสร็จ พนักงานถือห่อหมูยา่ งมาสองถุง แล้วน้าวรรณก็สง่ ให้บอมหนึ่งถุง -๒๕ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
“น้าให้บอมเอากลับไปกินทีบ่ า้ นนะ” “ขอบคุณครับ น้าวรรณใจดีทสี่ ุดเลย” เด็กชายกอดถุงหมูยา่ งแน่นอย่างทีจ่ ะไม่มีอะไรมา พรากเราจากกันได้ ถึงบ้านก่อนนะ บอมจะจัดการให้เรียบเลยหมูยา่ งของฉัน......
สาระน่ารู ้
ภาพที่ ๑๕ ที่มา : sites.google.com
ภาพที่ ๑๔ ที่มา : mgronline.com
หมูยา่ งเมืองตรัง จังหวัดตรัง มีของดีอนั เลื่องลืออยูห่ ลายอย่าง ทีโ่ ด่งดังโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์อย่าง ยิง่ คือ “หมูยา่ ง” ซึง่ มีรสชาติยอดเยีย่ มมาช้านานแล้ว เนื่องจากย่างได้อย่างอร่อย พิถีพิถนั มีรสหวานนาและเนื้อนุ่มหนังกรอบ ซึง่ มีตน้ กาเนิดทีป่ ระเทศจีนเมื่อกว่า ๑,๐๐๐ ปี มาแล้ว ในราชวงศ์ถงั โดยมีการค้นพบวิธีการย่างหมูแบบบังเอิญ และ “ฮ่องเต้” ยุคนัน้ ทรงตัง้ ชือ่ อาหารชนิดนี้วา่ “หมูทอง” วิชาการย่างหมูได้สบื ทอดตระกูลโดยพ่อครัวใน “มณฑลกว้างตุง้ ” ก่อนแพร่หลาย มาสู่ จ.ตรัง เมื่อกว่า ๑๕๐ ปี แล้ว สมัยต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อมีคนจีนอพยพทางเรือมาตัง้ รกรากยังปากนา้ ตรัง ได้มีบุคคลในต้นตระกูลของร้านฟองจันทร์ รับชาวจีนคนหนึ่งคือ “ซุน่ ” ซึง่ มีความสามารถในการย่างหมูเข้ามาทางาน พร้อมกับการฝึ กฝึ กฝน เกิดการ ถ่ายทอดจากรุน่ สูร๋ ุน่ นับตัง้ แต่นนั้ มา (เมธี เมืองแก้ว)
-๒๖ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ขนมเค้กเมืองตรัง ร่างของหญิงสาวคนหนึ่งกาลังยืนฮัมเพลงระหว่างทีก่ าลังทาขนมให้กบั ลูกชาย ของเธอ ทันใดนัน้ ก็ได้มรี า่ งเล็กของเด็กชายคนหนึ่งเดินเข้ามา... “วันนี้คณ ุ แม่จะทาอะไรเหรอฮะ?” ร่างเล็กถามด้วยความสงสัย “วันนี้แม่คดิ ว่าจะลองทาขนมเค้กทีล่ ูกชอบน่ะ แต่วา่ แม่ก็ไม่ได้ทามานานแล้ว เลยไม่รูว้ า่ ฝี มือจะตกหรือเปล่า” คนเป็ นเอ่ยตอบไป พลางทาขนมไปพลางด้วยใบหน้าที่ เปื้ อนรอยยิ้ม “ฝี มือคุณแม่สุดยอดทีส่ ุดแล้วฮะ!” ร่างเล็กเอ่ยออกมา “หืม? ทาไมคุณแม่ตอ้ งเว้นตรงกลางไว้ละ่ ฮะ?” ร่างเล็กสงสัย เมือ่ เห็นคุณแม่ ของตนนาแป้ งทีเ่ ตรียมจะเอาไปอบ นามาใส่แป้ นพิมพ์ทมี่ รี ูอยูต่ รงกลาง “เพราะว่าวันนี้แม่จะทาเค้กของบ้านเกิดแม่น่ะ สมัยก่อนเขาไม่ได้มีเตาอบแบบนี้ หรอกนะ ดังนัน้ เวลาอบเค้กมันจะทาให้เนื้อของเค้กสุกไม่เท่ากัน บ้างก็ไหม้บา้ ง บ้างก็ ดิบบ้าง” คุณแม่อธิบาย พลางนาแป้ งไปใส่ในเตาอบ “แต่วา่ มีคน ๆ หนึ่งคิดต้นวิธขี ้ นึ มาได้ โดยการเจาะรูทตี่ รงกลางของเค้ก เวลา สุกก็จะสุกทัง้ ด้านนอกและด้านในจ้ะ” “เอาล่ะ เค้กของเราเสร็จแล้ว ลูกไปนัง่ รอทีโ่ ต๊ะนะ เดีย๋ วแม่หยิบไปให้” คุณแม่ ว่าพลางลูบศีรษะของร่างเล็กทันที “ฮะ!”
-๒๗ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
สาระน่ารู ้
ภาพที่ ๑๖ ที่มา : sites.google.com
ภาพที่ ๑๗ ที่มา : popwaranya.wordpress.com
ขนมเค้กเมืองตรัง นอกจากหมูยา่ ง อาหารเช้าทีข่ ้ ึนชือ่ แล้ว จ.ตรัง ยังมีขนมเค้กขึ้นชือ่ อีกด้วย ขนมเค้ก เมืองตรังถือกาเนิดหรือผลิตขึ้นครัง้ แรกที่ ต.ลาภูรา อ.ห้วยยอด จ.ตรัง โดยชาวจีนไหหลา เค้ก ตรังยุคแรกทีเ่ ป็ นทีร่ ูจ้ กั คือ “เค้กขุกมิ่ง” ได้ชอื่ จาก ขุกมิ่ง แซ่เอง เจ้าตารับขนมเค้กเมืองตรังที่ อพยพเดินทางมาไทยโดยเรือ และทางานที่ จ.นราธิวาส เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๒ ต่อมาเดินทางมาตัง้ รกรากทีอ่ ยูท่ ่ี จ.ตรัง เปิ ดร้านกาแฟที่ ต.ลาภูรา ก็คดิ ทาขนมของ ตนเองเพื่อกินคูก่ บั กาแฟ โดยสังเกตวีทาเค้กมาจากร้านขนมที่ อ.ทับเทีย่ ง แล้วทดลองคิดค้นจน ได้ขนมเค้กเมืองตรัง ทีก่ ลายเป็ นทีร่ ูจ้ กั ของคนทัว่ ไปจนปั จจุบนั ปั จจุบนั จ.ตรัง มีการทาขนมเค้กเป็ นกิจการในครัวเรือนกันอย่างแพร่หลาย และพัฒนา จนมีรสต่าง ๆ มากมาย เช่น รสกาแฟ รสใบเตย เค้กสามรส เค้กสีร่ ส เค้กนมสด เค้กมะพร้าว เค้กเผือก เค้กส้ม เค้กชาเขียว เค้กขนุน เค้ดลิ้นจี่ เค้กเนย เค้กผลไม้ ฯลฯ จะมีเทศกาลขนม เค้กจังหวัดตรัง ระหว่างวันที่ ๖-๗ สิงหาคม บริเวณลานพระบรมราชาสุวารีย์ รัชกาลที่ ๕ อ. เมือง จ.ตรัง (เมธี เมืองแก้ว) -๒๘ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๒. ชนิดของคาไทย คาไทยแบ่งออกเป็ น ๗ ชนิด แต่ละชนิดมีลกั ษณะและหน้าทีแ่ ตกต่างกันออกไป ซึง่ คาแต่ละคามี ความหมาย ความหมายของคาจะปรากฏชัดเมื่ออยูใ่ นประโยค การสังเกต ตาแหน่งและหน้าของคาในประโยค จะช่วยให้ทราบชนิดของคารวมทัง้ ความหมายด้วย ในการใช้ภาษาจาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องทราบว่าคาไทยมีหน้าที่ อย่างไร เพื่อประโยชน์ในการเรียนรูแ้ ละสือ่ สาร นักไวยากรณ์ได้สงั เกต ความหมายและหน้าทีข่ องคาในประโยค ออกเป็ น ๗ ชนิด คือ ๑.คานาม ๒.คาสรรพนาม ๓.คากริยา ๔.คาวิเศษณ์ ๕.คาบุพบท ๖.คาสันธาน ๗.คาอุทาน (ธนภรณ์ เปรมทอง, ๒๕๖๒)
-๒๙ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๒.๑ คานาม ความหมายของคานาม คานาม หมายถึง คาทีใ่ ช้เรียกชือ่ คน สัตว์ พืช สิง่ ของ สถานที่ อาการ ลักษณะ ทัง้ ทีเ่ ป็ นสิง่ มีชวี ติ หรือเป็ นสิง่ ไม่มีชวี ติ ทัง้ ทีเ่ ป็ นรูปธรรมและนามธรรม เช่นคา ว่า คน ปลา ประเทศไทย จังหวัดตรัง การศึกษา ความดี ฝูง ตัว เป็ นต้น ชนิดของคานาม คานามแบ่งออกเป๋ น ๕ ชนิด ได้แก่ ๑.สามานยนาม หรือคานามทัว่ ไป คือ คานามทีเ่ ป็ นชือ่ ทัว่ ๆ ไป เป็ นคาเรียกสิง่ ต่าง ๆ โดยทัว่ ไปไม่ช้ เี ฉพาะเจาะจง เช่น ปลา คน สุนขั วัด ต้นไม้ ปากกา เป็ นต้น ๒.วิสามานยนาม หรือคานามเฉพาะ คือ คานามทีใ่ ช้เรียกชือ่ เฉพาะของคน สัตว์ หรือสถานที่ เป็ นคาเรียกเจาะจงลงไปว่า เป็ นใครหรือเป็ นอะไร เช่น วัดท่าหลวง จังหวัดต รัว วันจันทร์ เดือนมกราคม เป็ นต้น ๓.สมุหนาม คือ คานามทีท่ าหน้าทีแ่ สดงหมวดหมูข่ องคานามทัว่ ไป และคานาม เฉพาะ เช่น ฝูงผึ้ง บริษทั เป็ นต้น ๔.ลักษณะนาม คือ คานามทีบ่ อกลักษณะของคานาม เพื่อแสดงรูปลักษณะ ขนาด ปริมาณ เช่น บ้าน ๑ หลัง โต๊ะ ๓ ตัว ๕.อาการนาม คือ คานามทีเ่ ป็ นชือ่ กริยาอาการ เป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นนามธรรม ไม่มี รูปร่าง มักมีคาว่า “การ”และ “ความ” นาหน้า เช่น การกิน การพูด ความฝัน ความดี ความรัก เป็ นต้น -๓๐ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๒.๒ คาสรรพนาม ความหมายของคาสรรพนาม คาสรรพนาม หมายถึง คาทีใ่ ช้แทนคานามทีก่ ล่าวถึงมาแล้ว เพื่อจะได้ไม่ ต้องกล่าวคานามนัน้ ซา้ อีก เช่น ฉัน เรา ดิฉนั กระผม กู ท่าน คุณ เขา มัน ใคร อะไร บ้าง เป็ นต้น ชนิดของคาสรรพนาม คาสรรพนามแบ่งออกเป๋ น ๖ ชนิด ได้แก่ ๑.บุรษุ สรรพนาม คือ คาสรรพนามทีใ่ ช้แทนผูพ้ ูด แบ่งออกเป็ น ๑.๑สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนตัวผูพ้ ูด เช่น ผม ฉัน ดิฉนั กระผม ข้าพเจ้า กู เรา ข้าพระพุทธเจ้า เป็ นต้น ๑.๒สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้แทนตัวผูฟ้ ั ง เช่น คุณ เธอ ใต้เท้า ท่าน ใต้ฝ่า ละอองธุลีพระบาท เป็ นต้น ๑.๓สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แทนผูท้ ก่ี ล่าวถึง เขา มัน ท่าน พระองค์ ๒.ประพันธสรรพนาม คือ คาสรรพนามทีใ่ ช้แทนคานามและใช้เชือ่ มประโยค ทา หน้าทีเ่ ชือ่ มประโยคให้มีความสัมพันธ์กนั ได้แก่ ที่ ซึง่ อัน ผู ้ ๓.นิยมสรรพนาม คือ สรรพนามทีใ่ ช้แทนนามชี้เฉพาะเจาะจงหรือบอกกาหนดความ ให้ผพู ้ ูดกับผูฟ้ ั งเข้าใจกัน ได้แก่ นี่ นัน่ โน้น ๔.อนิยมสรรพนาม คือ สรรพนามทีใ่ ช้แทนนามบอกความไม่ช้ เี ฉพาะเจาะจงที่ แน่นอน ได้แก่ อะไร ใคร ไหน บางครัง้ ก็เป็ นคาซา้ ๆ เช่น ใคร ๆ อะไร ๆ ไหน ๆ ๕.วิภาคสรรพนาม คือ สรรพนามทีใ่ ช้แทนคานาม ซึง่ แสดงให้เห็นว่านามนัน้ จาแนก ออกเป็ นหลายส่วน ได้แก่ ต่าง บ้าง กัน ๖.ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามทีใ่ ช้แทนนามทีเ่ ป็ นคาถาม ได้แก่ อะไร ใคร ไหน ผูใ้ ด สิง่ ใด เป็ นต้น -๓๑ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๒.๓ คากริยา ความหมายของคากริยา คากริยา หมายถึง คาแสดงอาการ การกระทา หรือบอกสภาพของคานาม หรือคาสรรพนาม เพื่อให้ได้ความ เช่น กิน เดิน นอน นัง่ อ่าน เขียน เป็ น คือ ถูก เป็ นต้น ชนิดของคากริยา คากริยาแบ่งออกเป๋ น ๕ ชนิด ได้แก่ ๑.อกรรมกริยา คือ คากริยาทีไ่ ม่ตอ้ งมีกรรมมารับ ก็ได้ความสมบูรณ์ เข้าใจได้ เช่น -เขา“ยืน”อยู่ -น้อง“นอน” ๒.สกรรมกริยา คือ คากริยาทีต่ อ้ งมีกรรมมารับ เพราะคากริยานี้ไม่มีความสมบูรณ์ ในตัวเอง เช่น -ฉัน“กิน”ข้าว (ข้าว เป็ นกรรมทีม่ ารับคาว่า กิน) -เขา“เห็น”นก (นก เป็ นกรรมทีม่ ารับคาว่า เห็น) ๓.วิกตรรถกริยา คือ คากริยาทีไ่ ม่มีความหมายในตัวเอง ใช้ตามลาพังไม่ได้ความ ต้องมีคาอืน่ มาประกอบจึงจะได้ความ คากริยาพวกนี้ ได้แก่ คือ เป็ น เหมือน คล้าย เท่า เช่น -เขา“เป็ น”นักเรียน -เขา“คือ”ครูของฉัน ๔.กริยานุเคราะห์ คือ คากริยาทีท่ าหน้าทีช่ ว่ ยคากริยาสาคัญในประโยคให้มี ความหมายชัดเจนขึ้น ได้แก่คาว่า จง กาลัง จะ ย่อม คง ยัง เถอะ เทอญ ฯลฯ เช่น -เขา“ถูก”ตี
-๓๒ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๕.กริยาสภาวมาลา คือ คากริยาทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นคานาม จะเป็ นประธาน กรรม หรือบทขยายของประโยคก็ได้ เช่น -“นอน”หลับเป็ นการพักผ่อนทีด่ ี (นอน เป็ นคากริยาทีเ่ ป็ นประธานของประโยค) -ฉันชอบไป“เทีย่ ว”กับเธอ (เทีย่ ว เป็ นคากริยาทีเ่ ป็ นกรรมของประโยค)
๒.๔ คาวิเศษณ์ ความหมายของคาวิเศษณ์ คาวิเศษณ์ หมายถึง คาทีใ่ ช้ประกอบหรือขยาย คานาม คาสรรพนาม คากริยา หรือคาวิเศษณ์ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขึ้น เช่น -คนอ้วนกินจุ (“อ้วน” เป็ นคาวิเศษณ์ทข่ี ยายคานาม “คน” “จุ” เป็ นคาวิเศษณ์ทขี่ ยายคากริยา “กิน”) -เขาร้องเพลงได้ไพเราะ (“ไพเราะ” เป็ นคาวิเศษณ์ทขี่ ยายคากริยา “ร้องเพลง”) ชนิดของคาวิเศษณ์ คาวิเศษณ์แบ่งออกเป็ น ๑๐ ชนิด ดังนี้ ๑.ลักษณะวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทบี่ อกลักษณะต่าง ๆ เช่น บอกชนิด สี ขนาด กลิ่น รส บอกความรูส้ กึ เช่น ดี ชัว่ ใหญ่ ขาว ร้อน เย็น หอม หวาน เป็ นต้น เช่น -นา้ ร้อนอยูใ่ นกระติกสีขาว -จานใบใหญ่ราคาแพงกว่าจานใบเล็ก -๓๓ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๒.กาลวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น อดีต อนาคต เป็ นต้น เช่น -พรุง่ นี้เป็ นวันเกิดของคุณแม่ -เขามาโรงเรียนสาย ๓.สถานวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกสถานที่ เช่น ใกล้ ไกล บน ล่าง เหนือ ใต้ ซ้าย ขวา เป็ นต้น เช่น -เขามีเงินห้าบาท -เขามาหาฉันบ่อย ๆ ๔.ประมาณวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทบี่ อกลักษณะต่าง ๆ เช่น บอกชนิด สี ขนาด กลิ่น รส บอกความรูส้ กึ เช่น ดี ชัว่ ใหญ่ ขาว ร้อน เย็น หอม หวาน เป็ นต้น เช่น -นา้ ร้อนอยูใ่ นกระติกสีขาว -จานใบใหญ่ราคาแพงกว่าจานใบเล็ก ๕.ประติเษธวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทแี่ สดงความปฏิเสธ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ เป็ นต้น -เขาไม่ได้มาคนเดียว -ของนี้ไม่ใช่ของฉัน ๖.ประติชญาวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทใี่ ช้แสดงการขานรับหรือโต้ตอบ เช่น ครับ ขอรับ ค่ะ เป็ นต้น ๗.นิยมวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทบี่ อกความชี้เฉพาะ เช่น นี้ นัน่ โน่น ทัง้ นี้ ทัง้ นัน้ แน่นอน เป็ นต้น เช่น -บ้านนัน้ ไม่มีใครอยู่ -เขาเป็ นคนขยัน (ธนภรณ์ เปรมทอง, ๒๕๖๒) -๓๔ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๘.อนิยมวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทบ่ี อกความไม่ช้ เี ฉพาะ เช่น ใด อืน่ ไหน อะไร ใคร ฉัน ใด เป็ นต้น เช่น -เธอจะมาเวลาใดก็ได้ -คุณจะนัง่ เก้าอี้ตวั ไหนก็ได้ ๙.ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์แสดงคาถาม หรือแสดงความสงสัย เช่น ใด ไร ไหน อะไร สิง่ ใด ทาไม เป็ นต้น ๑๐.ประพันธวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ทที่ าหน้าทีเ่ ชือ่ มคาหรือประโยคให้มีความเกี่ยวข้อง กัน เช่น ที่ ซึง่ อัน อย่าง ที่ ว่า ให้ เป็ นต้น
๒.๕ คาบุพบท ความหมายของคาบุพบท คาบุพบท หมายถึง คาทีแ่ สดงความสัมพันธ์ระหว่างคาหรือประโยค เพื่อให้ ทราบว่าคาหรือกลุม่ คาทีต่ ามหลังคาบุพบทนัน้ เกี่ยวข้องกับกลุม่ คาข้างหน้าในประโยคใน ลักษณะใด เช่น กับ แก่ แต่ ต่อ โดย ตาม ข้าง ถึง จาก ใน บน ใต้ นอก เพื่อ ของ เกือบ ตัง้ แต่ แห่ง ที่ เป็ นต้น เช่น -เขามาแต่เช้า -บ้านของคุณน่าอยูจ่ ริง
๒.๕ คาสันธาน ความหมายของคาสันธาน คาสันธาน หมายถึง คาทีใ่ ช้เชือ่ มประโยคหรือข้อความ กับข้อความ เพื่อทาให้ ประโยคนัน้ รัดกุม กระชับและสละสลวย เช่น และ แล้ว จึง แต่ หรือ เพราะ เหตุเพราะ เป็ นต้น เช่น -๓๕ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
-เขาอยากเรียนหนังสือเก่ง ๆ แต่เขาไม่ชอบอ่านหนังสือ -เขามาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนัก (ธนภรณ์ เปรมทอง, ๒๕๖๒)
๒.๗ คาอุทาน ความหมายของคาอุทาน คาอุทาน หมายถึง คาทีแ่ สดงอารมณ์ของผูพ้ ูดในขณะทีต่ กใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ หรืออาจเป็ นคาทีใ่ ช้เสริมคาพูด เช่น อุย๊ เอ๊ะ ว้าย โธ่ อนิจจา อ๋อ เป็ นต้น เช่น -เฮ้อ! ค่อยยังชัว่ ทีเ่ ขาปลอดภัย คาอุทานแบ่งเป็ น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑.คาอุทานบอกอาการ เป็ นคาอุทานทีแ่ สดงอารมณ์ และความรูส้ กึ ของผูพ้ ูด เช่น ตกใจ ใช้คาว่า ตายจริง วุย้ ว้าย แหม ประหลาดใจ ใช้คาว่า เอ๊ะ หือ หา รับรู ้ เข้าใจ ใช้คาว่า เออ อ้อ อ๋อ เจ็บปวดใช้คาว่า โอ๊ย อุย๊ ร้องเรียก ใช้คาว่า เฮ้ย เฮ้ นี่ ๒.คาอุทานเสริมบท เป็ นคาอุทานทีใ่ ช้เป็ นคาสร้อยหรือคาเสริมบทต่าง ๆ คาอุทานประเภทนี้ บางคาเสริมคาทีไ่ ม่มีความหมาย เพิ่อยืดเสียงให้ยาวออกไป บางคาก็เน้นเพื่อให้คากระชับหนัก แน่น เช่น -หนังสือหนังหาเดีย๋ วนี้ราคาแพงมาก -พ่อแม่ไม่ใช่หวั หลักหัวตอนะ (ธนภรณ์ เปรมทอง, ๒๕๖๒) -๓๖ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
กิจกรรมท้ายบท ๑.จงอธิบายความหมายของคานาม พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..……………………….……. ๒.จงอธิบายความหมายของคากริยา พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..……………………………. ๓.ขงอธิบายตวามหมายของคาวิเศษณ์ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………............
-๓๗ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
๔.จงอธิบายความหมายของคาบุพบท พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..……………………….……. ๕.จงอธิบายความหมายของคาสันธาน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..…………………………….
-๓๘ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
บรรณำนุกรม จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิม่ สาราญ.(๒๕๔๗). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร. ธนภรณ์ เปรมทอง. (๒๕๖๒). ชนิดของคาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้าน สมเด็จเจ้าพระยา. ประภาศรี สีหอาไพ. (๒๕๒๗). การเขียนแบบสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ภานุวชิ ญ์ สุขคุม้ .(๒๕๖๑). จังหวัดตรัง. (ออนไลน์). ได้จาก : http;//www.sites.google.com. (สืบค้นเมื่อ วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔). เมธี เมืองแก้ว. หมูย่างเมืองตรัง. ตรัง : พิมพ์รกั ษ์. เมธี เมืองแก้ว. ขนมเค้กเมืองตรัง. ตรัง : พิมพ์รกั ษ์. ยุคล โจ้งทอง. ความเป็ นมาของเมืองตรัง. (ออนไลน์). ได้จาก : http://www.trangmazing.com. (สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๔). สิทธา พินิจภูวดล และคณะ. (๒๕๑๔). การเขียนและการการพูด. กรุงเทพฯ : แพร่ พิทยา. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็0พระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชานีนาถ ตรัง.(๒๕๖๓). หอนาฬิกาตรัง. (ออนไลน์). ได้จาก : http://www.finearts.go.th/trangarchives/.(สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๔). -๓๙ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ทับเทีย่ ง เสน่หแ์ ห่งเมืองตรัง
ราคา ๑๓๐ บาท