Data Loading...

วิจัยพัฒนาการอ่าน15หน้า Flipbook PDF

วิจัยพัฒนาการอ่าน15หน้า


382 Views
148 Downloads
FLIP PDF 705.15KB

DOWNLOAD FLIP

REPORT DMCA

1

งานวิจัย การพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2/1 สาขาการบัญชีภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ผู้วิจัย นางสาวเกศราภรณ์ ลอยแก้ว ตาแหน่ง อาจารย์ผู้สอน วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลวันออก วิทยาเขตบางพระ ปีที่ทาวิจัย ปีการศึกษา2562 ประเภทงานวิจัย วิจัยในชั้นเรียน บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2/1 สาขาการบัญชีภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จากการศึกษา ผลการพัฒนาการอ่านของผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบการอ่านแบบ Conversation โดยมีการอ่านแบบสลับกัน เป็นการโต้ตอบแบบบทสนทนาแบบ A กับ B ได้ผลลัพธ์จากการทดสอบคือ กลุ่มทดสอบก่อนเรียนค่าเฉลี่ยเป็น 9.38 และคะแนนของกลุ่มทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเป็น 15.64 ซึ่งมีความแตกต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด โดยให้ผู้เรียนอ่านแบบทดสอบการอ่านตาม Conversation ที่กาหนดโดยก่อนเรียนให้ผู้เรียนได้ออกเสียงตามที่ ตนถนัดโดยทดสอบแล้วได้คะแนนค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.38 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องการต่อมาจึงสอนทักษะการ ให้กับผู้เรียนโดยวิธีหลักการอ่านออกเสียงตามหลัก Phonetic รวมถึงวิธีการเปิดสื่อมัลติมีเดียให้ผู้เรียนฟังจาก Native speaker เพื่อให้เกิดการเลียนเสียงและออกเสียงได้อย่างถูกต้องผู้เรียนจึงมีคะแนนหลังการเรียนวิธีการ อ่านอยู่ที่ 15.64 64 ซึ่งมีความแตกต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสรุปได้ว่าวิธีการพีฒนาการอ่านสามารถช่วย ให้ผู้เรียนมีทักษะการงานที่พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น และการวัดประเมินความพึงพอใจต่อวิธีการสอนสรุปได้ว่า นักเรียนมีทัศนะติที่ดีต่อวิธีการสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดยเฉลี่ยจากคะแนนแบบสอบถามทั้งหมด 51.43 คะแนน เฉลี่ยเป็น 3.42 คะแนน แสดงว่าผู้เรียนเห็นด้วยอย่างมากกับวิธีการสอนฝึกทักษะการอ่าน

2

บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งใน ชีวิตประจาวัน เนื่องจากเป็นเครื่องมือสาคัญในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบ อาชีพ ความบันเทิง การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลายและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก นามาซึ่งมิตร ไมตรีและความร่วมมือกับประเทศต่างๆช่วยพัฒนานักเรียนให้มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เข้าใจความ แตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมืองการ ปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศและใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์ ความรู้ ต่าง ๆ ได้ง่าย กว้างขวางขึ้น และมีวิสัยทัศน์ในการด่าเนินชีวิต (ส่านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน , 2551: 1) จากความสาคัญของภาษาต่างประเทศตามที่กล่าวมานี้ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ กาหนดให้มีการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศทุกช่วงชั้น เพื่อเสริมสร้างพื้นฐานความเป็น มนุษย์ สร้างศักยภาพในการคิดและการทางานอย่างสร้างสรรค์ เป็นรากฐานและเตรียมความพร้อมในการเรียน ของ เยาวชนรุ่มใหม่ ให้สอดคล้องกับสังคมยุคข้อมูลข่าวสาร ช่วยให้นักเรียนเป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ภาษาอังกฤษ (คอมพิวเตอร์ช่วยสอน) เพื่อใช้เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนาการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ โดยให้ผู้เรียนมีความ เข้าใจ และสามารถน่าหลักภาษาอังกฤษที่ได้ศึกษาไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นพื้นฐานในการ เรียนรู้ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนในระดับต่อไป และก่อให้เกิดพัฒนาการในการเรียนได้อย่างยั่งยืนและมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยมีความคาดหวังว่าเมื่อนักเรียนเรียนภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม (กรมวิชาการ, 2551) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะการอ่าน ซึ่งเป็นทักษะที่ให้ประโยชน์ส่าหรับการแสวงหาความรู้เพื่อน่าไปใช้ปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพ ชีวิตและสังคม อนึ่ง แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ถือว่ามีความสาคัญและเป็นประโยชน์อย่างมากใน การแสวงหาความรู้ของผู้เรียน นักเรียน นิสิตนักศึกษาต้องอ่านหนังสือเรียน ต่าราหรือวารสารภาษาอังกฤษ เพื่อให้ความรู้ในสาขาวิชาของตนให้กว้างขวางและลึกซึ้ง สาหรับนักธุรกิจ ข้าราชการ ต้องใช้ ภาษาอังกฤษ เพื่อประโยชน์ในความก้าวหน้าของตน(วิสาข์ จัติวัตร์ 2543: 1) สอดคล้องกับสุภัทรา อักษรานุ เคราะห์ (2530:50) ที่ให้แนวคิดว่าทักษะการอ่านเป็นทักษะที่สาคัญและจ่าเป็นต้องใช้มากกว่าทักษะอื่น ๆ โดยเฉพาะส่าหรับผู้เรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2542:3) สนับสนุนว่า การอ่านมีความสาคัญและจาเป็นต่อทุกอาชีพทุกเพศทุกวัย การอ่านช่วยให้คนเรา รอบรู้ ฉลาด ทันโลก (อ้างใน จักพรรดิ คงน่ะ 2550: 14) สาหรับการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในประเทศ ไทย เมื่อเปรียบเทียบความสาคัญ ของทักษะทางภาษาทั้ง 4 ทักษะ คือ ฟัง พูด อ่าน และเขียน จะพบว่าการ

3

อ่านเป็นทักษะที่ส่าคัญกว่า ทักษะอื่น ๆ เพราะทักษะการอ่านเป็นเครื่องมือสาคัญในการแสวงหาความรู้เพื่อ นาไปประยุกต์ใช้ใน การศึกษา การเจราต่อรองและเพื่อการแข่งขันทางการประกอบอาชีพ (วิสา จัตติวัตร 2557: 41) ทักษะ การอ่านจึงเป็นทักษะการอ่านจึงเป็นทักษะที่สาคัญในการศึกษาทุกระดับ เนื่องจากการ เรียนวิชาต่าง ๆ ทั้งในและนอกห้องเรียนต้องใช้การอ่านเป็นสื่อการเรียนรู้ โดยเฉพาะในการเรียนภาษาเพราะ ผู้เรียนมี โอกาสใช้ทักษะ ฟัง พูด และเขียนน้อยกว่าทักษะการอ่าน ดังนั้นการอ่านจึงเป็นเป้าหมายส่าคัญใน การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อให้นักเรียนได้เป็นเครื่องมือน่าไปสู่การแสวงหาความรู้ทั้งปวง (อ้างใน ถนอม เพ็ญ ชูบัว: 2556) และเป็นที่ทราบกันทั่วไปว่า ปัญหาที่สาคัญของคนไทยส่วนมากในการเรียน ภาษาอังกฤษ คือคาใดที่ไม่เคยอ่านจะอ่านไม่ได้หรืออ่านได้แต่ไม่แน่ใจในความถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การอ่านออกเสียง ชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อคน ชื่อสิ่งของ หรือชื่อสถานที่ (มงคล กุลประเสริฐ, 2555 จากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาอังกฤษฟังพูด พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อย สนใจเรียนและไม่ตั้งใจเรียนในชั้นเรียน ซึ่งภาษาอังกฤษและวิชาภาษาอังกฤษฟังพูดมีความสาคัญมากทั้งใน ด้านการศึกษา และในการทางานในอนาคตถ้าผู้เรียนไม่เข้าใจในเนื้อหาก็จะไม่สามารถนาความรู้ไปต่อยอดเพื่อ ใช้ในการทางานได้ สาเหตุของปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากนักเรียนเรียน เอง คือ 1 ผู้เรียนไม่มีพื้นฐานการอ่านออก เสียงภาษาอังกฤษมาก่อน 2 นักเรียนไม่เห็นคุณค่าในการฝึก ทักษะการอ่าน และนักเรียนไม่มีความ กระตือรือร้นและรักการอ่านจึงท่าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาอังกฤษต่่ากว่าเกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความมุ่งมั่นและสนใจที่จะพัฒนา ทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษสาหรับ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2/1 เพื่อให้นักเรียนได้มีการพัฒนาการในการเรียนได้อย่างยั่งยืน และมีประสิทธิภาพในการอ่านมากยิ่งขึ้น

4

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบการวัดผลทักษะการอ่านก่อนเรียนและหลังเรียน 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อวิธีการพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษ สมมุติฐานการวิจัย คะแนนทดสอบการอ่านของนักเรียนหลังการทดลองมีคะแนนสูงกว่าการอ่านของนักเรียนก่อนการ ทดลองขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจทีกาลังศึกษาอยู่ ในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2/1 ในภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2562 จานวน 42 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ คือ วิธีการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ตัวแปรตาม คือ 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ 2.การวัดความพึงพอใจของผู้เรียน 3.การอ่านที่ถูกต้องตามหลักการอ่านภาษาอังกฤษที่ถูกต้องตามหลักPhonetic 4. ผลสัมฤทธิ์ของการอ่านออกเสียงของนักเรียน นิยามศัพท์เฉพาะ นักเรียน หมายถึง นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2/1 การอ่าน หมายถึง การออกเสียงตามตัวหนังสือหรือการเข้าใจความหมายจากตัวหนังสือ สังเกตหรือ พิจารณาดูเพื่อเข้าใจ กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิจัยเรื่อง “พัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะส่าหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2/1”ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเพื่อใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการดาเนิน งานวิจัย ดังนี้. 1. เอกสารเกี่ยวข้องเกี่ยวกับการอ่าน 2. แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะการอ่าน 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2/1 มีทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษอยู่ใน ระดับดีมาก 2. เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องกับเรียนในการฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษให้กับ นักเรียน 3. เป็นแนวทางในการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนต่อไป

5

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการวิจัยในหัวข้อ ต่างๆดังต่อไปนี้ 1.ความหมายของการอ่าน 2.ความสาคัญของการอ่าน 3.จุดมุ่งหมายของการอ่าน 4.ประโยชน์ของการอ่าน 5. ประเภทของการอ่าน ความหมายของการอ่าน ปัจจุบันมีการศึกษาเกี่ยวกับการอ่านอย่างกว้างขวางและมีการกล่าวถึงความหมายของการอ่านไว้อย่าง หลากหลาย อาทิเช่น ประเทิน ( 2555 ) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า เป็นกระบวนการในการแปล ความหมายของอักษรหรือสัญลักษณ์ที่มีการจดบันทึกไว้ การอ่านเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน ลักษณะของการ อ่านต้องทาความเข้าใจความหมายของเรื่องที่อ่าน ความหมายดังกล่าวมิได้เกิดจากตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ที่ อ่านเท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการกระตุ้นให้เกิดความคิดรวบยอดหรือจินตนาการของผู้อ่านเป็นสาคัญ โดยอาศัย พื้นฐานประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน จึงเป็นกระบวนการที่ประกอบด้วยการแปลความการตอบสนอง การ กาหนดความมุ่งหมาย และการจัดลาดับ เมื่อผู้อ่านได้รับข่าวสารจากสิ่งตีพิมพ์ก็สามารถออกเสียงและทา ความเข้าใจเรื่องราวโดยการถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและจินตนาการ จากผู้เขียนสู่ผู้อ่านโดยผ่านสื่อ สิ่งพิมพ์ เพื่อรับรู้ว่าผู้เขียนคิดอะไร พูดอะไร สามารถทาความเข้าใจกับสิ่งที่ตนเองอ่านได้ทั้งหมาดจน สามารถนาความคิดนั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ราชบัณฑิตยสถาน (2556) ให้ความหมาย ของการอ่านไว้ในหนังสือพจนานุกรมว่า การอ่านเป็นการออกเสียงตามตัวหนังสือหรือการเข้าใจความหมาย จากตัวหนังสือ สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อเข้าใจ บันลือ (2557) การอ่านเป็นการพัฒนาความคิด โดยที่ผู้อ่าน ต้องใช้ความสามารถหลาย ๆ ด้าน เช่น การใช้การสังเกตจารูปคา ใช้สติปัญญาและประสบการณ์เดิมในการ แปลความ หรือถอดความให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ดี โดยวิธีอ่านแบบนี้จะต้องดาเนินการเป็น ขั้นตอนและต่อเนื่อง จากความหมายดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า การอ่านคือกระบวนการที่ซับซ้อนที่สามารถ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและจินตนาการของผู้เขียน โดยผ่านการแปลความหมายหรือตีความจาก ตัวอักษร เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยอาศัยประสบการณ์และความคิดรวบยอดเดิมของผู้อ่านเป็น พื้นฐาน เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องราวนั้น ๆ และสามารถทาความเข้าใจที่เกิดให้เป็นประโยชน์ด้านใน ด้านหนึ่ง การอ่านถือเป็นเครื่องมือสาคัญในการเรียนรู้ของนักเรียน และคุณภาพการอ่านของ นักเรียนย่อมส่งผลกระทบถึงคุณภาพของการจัดการศึกษานักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการ อ่านไว้ดังนี้วรรณี โสมประยูร (2555 , หน้า 121) กล่าวว่าการอ่านเป็นกระบวนการทางสมองที่ต้องการ

6

ใช้สายตาสัมผัสตัวอักษรหรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ รับรู้และเข้ าใจความหมายของคาหรือสัญลักษณ์โดยแปลออกมา เป็นความหมายที่ใช้สื่อความคิดและความรู้ระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านให้เข้าใจตรงกันและผู้อ่านสามารถนาเอา ความหมายนั้นๆไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ บันลือ พฤกษะวัน(2556 , หน้า 2) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า 1. การอ่านเป็นการเปล่งเสียงออกมาเป็นคาพูดโดยการผสมผสานเสียงเพื่อใช้ในการออกเสียงให้ตรงกับคาพูด 2. การอ่านเป็นการใช้ความสามารถในผสมผสานของตัวอักษรออกเสียงเป็นคาหรือเป็นประโยคทาให้เข้าใจ ความหมายในการสื่อสารโดยการอ่าน 3. การอ่านเป็นการสื่อความหมายที่ถ่ายโยงความคิด ความรู้จากผู้เขียนถือผู้อ่าน 4. การอ่านเป็นการพัฒนาความคิดโดยที่ผู้อ่านต้องใช้ความสามารถหลายๆด้าน เช่น ใช้การสังเกต จารูปคา นพดล จันทร์เพ็ญ (2558 , หน้า 73 ) กล่าวว่าการอ่านเป็นกระบวนการแปลความหมายของตัวอักษรหรือ สัญลักษณ์ออกมาเป็นถ้อยคาหรือความคิดของตนเองแล้วผู้อ่านก็นาความคิดความเข้าใจที่ได้จากการอ่านนั้น ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เตือนใจ กรุยกระโทก (2558 , หน้า 15) กล่าวว่า การอ่าน เป็ นกระบวนการแปล ความหมายของตัวอักษรเป็นความคิดโดยอาศัยประสบการณ์เดิมแล้วนาความคิดไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป จากความหมายของการอ่านดังกล่าว สรุปได้ว่าการอ่านเป็นกระบวนการคิดที่ผู้อ่านเกิดความเข้าใจและ ถ่ายทอดออกมาเป็นถ้อยคาที่มีความหมายสื่อให้ตรงกันระหว่างผู้อ่านและผู้เขียนเป็นการแปลความหมายจาก สัญลักษณ์หรือการเปล่งเสียงออกมาเป็นคาพูดให้ตรงกับตัวอักษรหรือตัวอักษรที่อ่านเข้าใจความหมายของคา แล้วเข้าตรงกับที่ผู้เขียนต้องการโดยอาศัยประสบการณ์เดิมที่มีอยู่มาเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่จนเกิดความเข้าใจ ในเรื่องนั้น การอ่าน คือ กระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้สารซึ่งเป็นความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความคิดเห็นที่ ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรการที่ผู้อ่านจะเข้าใจสารได้มากน้อยเพียงไรขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และความสามารถในการใช้ความคิด (มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์, 2557, หน้า 18) การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิต มนุษย์ตั้งแต่เกิดจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่านทาให้รู้ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันเป็นโลก ของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทั่วโลก ทาให้ผู้อ่านมีความสุข มีความหวัง และมีความอยากรู้อยากเห็น อันเป็น ความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมีประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมีความอยากรู้อยากเห็น การที่จะพัฒนา ประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัยประชาชนที่มีความรู้ความสามารถ ซึ่งความรู้ต่าง ๆ ก็ได้มาจาก การอ่านนั่นเอง (ฉวีวรรณ คูหาภินนท์, 2554, หน้า 11) บอร์นาร์ด ไอ ชมิดท์ ( Bernard I. Schmidt) ได้ให้นิยามความหมายของการอ่าน ไว้ว่า เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนยุ่งยากมีความหมายที่แน่นอน อาจเรียกได้ ว่าเป็นทุกสิ่งทุกอย่างจากคาที่จาได้ไปสู่ความนึกคิดต่าง ๆ การอ่านของแต่ละบุคคลย่อมแตกต่างไปตามสภาพ ของร่างกายสติปัญญาและอารมณ์ ในการอ่านข้อความเหมือนกัน บุคคลสองคนจะมีความคิดต่างกัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2557 (2558 : 1364) กล่าวว่า อ่าน เป็นคากริยา หมายถึงว่าตาม ตัวอักษร ถ้าอ่านออกเสียงด้วยเรียกว่า อ่านออกเสียง ถ้าไม่ออกเสียงเรียกว่าอ่านในใจ สรุปจากความหมายของการอ่านที่มีผู้ให้นิยามไว้หลากหลาย พอสรุปได้ว่าการอ่านเป็นกระบวนการทาง ความคิดในการรับสาร เป็นพฤติกรรมทางการใช้ภาษาที่มีลักษณะเฉพาะตัว เป็นการแปลความหมายของ

7

ตัวอักษร สัญลักษณ์ และภาพ ให้ออกมาเป็นถ้อยคา และทาความเข้าใจสิ่งที่อ่านแล้วนาไปใช้ประโยชน์เพื่อ พัฒนาตนเอง ทั้งด้านสติปัญญา สังคมและอารมณ์ ความสาคัญของการอ่าน ในสมัยโบราณที่ยงัไม่มีตัวหนังสือใช้มนุษย์ได้ใช้ว่การเขี ิ ธิ ยนบันทึกความทรงจาและเรื่องราวต่าง ๆ เป็นรูปภาพไว้ตามฝาผนังในถ้า เพื่อเป็นทางออกของอารมณ์เพื่อเตือนความจา หรือเพื่อบอกเล่าให้ผู้อื่นไดรับรู้ ด้วยแสดงถึงความพยายามและความปรารถนาอันแรงกล้าของมนุษย์ที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ของตนเป็น สัญลกัษณ์ที่คงทนต่อกาลเวลาจากภาพเขียนตามผนังถ้า ได้วิวัฒนาการมาเป็นภาษาเขียนและหนงัสือ ปัจจุบัน นี้หนังสือกลายเป็นสิ่งที่สาคัญยิ่ง ต่อมนุษย์จนอาจกล่าวได้ว่า เป็นปัจจัยอย่างหนึ่ง ในการดารงชีวิตคนที่ไม่รู้ หนังสือแม้จะดารงชีวิตอยู่ได้ก็เป็นชีวิตที่ไม่สมบูรณ์ไม่มีความเจริญ ไม่สามารถประสบความสาเร็จใด ๆ ใน สังคมได้หนังสือและการอ่านหนงัสือจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งการอ่านทา ให้ผู้อ่านมีคลังข้อมูลอยู่ในสมองเพราะ การอ่านเป็นการรับสารผู้อ่านจะได้รับสาระความรู้ทาให้ทันโลกทันเหตุการณ์อยู่เสมอคลังข้อมูลเป็นพื้นฐาน แห่งความรู้ที่จะนาไปสู่การคิดเป็นในโอกาสต่อไป การอ่านทาให้ผู้อ่านได้พัฒนาความคิดเนื่องจากการอ่านเป็น พฤติกรรมการรับสารที่มีความคิดเป็นแกนกลางขณะที่ผู้อ่านต้องใช้สมองขบคิดพิจารณาค้นหาความหมายและ ทาความเข้าใจข้อความที่อ่านไปตามระดับความสามารถ การอ่านนั้นเป็นผลมาจากการฝึกสมองขณะที่อ่านทา ให้เกิดพัฒนาการทางความคิด ผู้ที่อ่านหนังสือมากจึงเป็นนักปราญช์หรือนักคิดการอ่านหนังสือจึงทาให้ผู้อ่าน ได้พัฒนาการใช้จินตนาการเพราะการอ่านทาให้ผู้อ่านได้ใช้ความคิดอย่างอิสระสามารถสร้างภาพในใจของ ตนเองโดยการตีความจากภาษาของผู้เขียน ดังนั้นแม้จะอ่านหนังสือเล่มเดียวกัน แต่ผู้อ่านก็อาจจะมีภาพในใจ ที่แตกต่างกันออกไปตามจินตนาการของแต่ละคน นักการศึกษาต่างเห็นตรงกันว่าประสบการณ์อ่านครั้งแรก นั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการปรับตัวของเด็ก ความสาเร็จของการเรียนของเด็กตลอดจนทัศนคติของเด็กที่มี ต่อการอ่านหนังสือจะเป็นหนทางนาไปสู่ความสาเร็จทางการศึกษาสืบไป (รัตนาศิริพานิช 2522:139-140) การ สร้างนิสัยรักการอ่านจึงเป็นสิ่งจาเป็นที่บุคคลควรไดรับการฝึกฝนเพื่อให้เป็นนักอ่านที่ดี(กรมวชิาการ 2546:11) คนที่ไม่ชอบอ่านหนังสือหรือไม่มีนิสัยรักการอ่านจะเป็นสิ่งบั่นทอนความก้าวหน้าทางด้านวัตถุและจิตใจ (จารุดี ผโลประการ2557: 6) โดยเฉพาะในวัยเด็กการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านใหเ่ด็กจะส่งเสริมให้เด็กเป็นคนดี พร้อมทั้งทางกาย วาจา ใจ และสติปัญญา อันประกอบด้วยมีความรู้ดีความประพฤติดีมีพลานามัยสมบูรณ์ดี สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเองและนา ความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ต่อตนเองครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติตลอดจนมนุษยชาติทั้งมวล(สวัสดิ์เรืองวิเศษ2550: 5)การสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านควรเริ่มตั้งแต่ วัยเด็กเพราะเมื่อเด็กรักการอ่านตั้งแต่เล็กๆ แล้วเวลาที่เติบโตขึ้นนิสัยรักการอ่านจะติดตัวต่อไปเรื่อยๆ เป็น ผลดีต่อการเรียนและการปรับปรุงตัวให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมของเด็กได้เป็นอย่างดี(ฉววีรรณ คูหาภินนั ท์2527: 19) การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชราการอ่านทาให้รู้ ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกของข้อมูลข่าวสารต่างๆทั่วโลกทาให้ผู้อ่านมีความสุขมี ความหวังและมีความอยากรู้อยากเห็นอันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคนการอ่านมีประโยชน์ในการพัฒนา

8

ตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมี ความอยากรู้อยากเห็น การที่จะพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัยประชาชนที่มีความรู้ ความสามารถ ซึ่งความรู้ต่าง ๆ ก็ได้มาจากการอ่านนั่นเอง (ฉวีวรรณ คูหาภินนท์, 2552, หน้า 11 การอ่าน หมายถึง การเสาะแสวงหาความรู้การอ่านทาให้เป็นบุคคลมีวิสัยทัศน์กว้างไกลทาให้เกิด กระบวนการและทักษะในการดาเนินชีวิต ความหมายของการอ่านนั้นได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายอย่างดังนี้ การอ่าน คือ ว่าตามตัวหนังสือ ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านใน ใจ สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านในใจ ตีความ เช่น อ่านรหัส อ่านลาย แทงคิดนับ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2553 : 1364) สุนันทา มั่นเศรษฐ์วิทย์ (2550, : 2) ได้ให้ ความหมายของการอ่านว่าการอ่านหมายถึงการเสาะแสวงหาความรู้นอกเหนือจากการสอนในห้องเรียนที่ครูให้ และตัวของผู้อ่านนั้นได้มีการจดจาในเรื่องราวที่อ่านและนามาคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ออกมาตามความเข้าใจ ของผู้อ่านถ้าพิจารณาในลักษณะของกระบวนการการอ่านคือลาดับขั้นที่เกี่ยวข้องกับการทาความเข้าใจ ความหมายของกลุ่มคาประโยคข้อความและเรื่องราวของสารที่ผู้อ่านสามารถบอกความหมายได้แต่ถ้า พิจารณาในลักษณะของกระบวนการที่ซับซ้อนแล้วก็จะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบหลายอย่างได้แก่ จิตวิทยา พัฒนาการภาษาศาสตร์จิตวิทยาการศึกษาและวิชาการศึกษาส่วนที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาพัฒนาการนั้น หมายความว่า ครูสอนอ่านจะต้องเข้าใจหลักจิตวิทยา ประภัสสร ปันสวน (2553 : 6 ) ได้มีความเห็นถึง ความหมายของการอ่าน ว่าการอ่านเป็นความสามารถที่จะเข้าใจความหมายที่เขียนมาแต่ละบรรทัดซึ่งผู้อ่านไม่ ต้องไปสนใจกับรายละเอียดแต่จะต้องจับใจความสาคัญจากกลุ่มซึ่งสื่อความหมาย จิราพร คาด้วง (2556 : 7) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่าการอ่านเป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาที่ยั่งยืนที่สุดการอ่านทาให้เป็นคนทันสมัย ทัน ต่อเหตุการณ์ ทาให้ปรับตัวเข้ากับสังคมเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว วาสนา บุญสม (2551 : 12) และ กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 8) ได้ให้ความหมายของการอ่านในแนวใกล้เคียงว่า คือ การพยายามทาความเข้าใจ ความหมายของตัวอักษรถ้อยคาเครื่องหมายต่าง ๆ ออกมาเป็นความคิดความเข้าใจแล้วนาความคิดความเข้าใจ มาใช้ให้เป็นประโยชน์ ดังนั้นหัวใจของการอ่านอยู่ที่การทาความเข้าใจความหมายของคา นิตยา ประพฤติกิจ (2532 : 1) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการศึกษาทุกสาขาวิชาและการ อ่านจะทาให้ประสบความสาเร็จในการเรียน บันลือ พฤษะวัน (2552 : 2) ได้ให้ความหมายการอ่านไว้ดังนี้ 1. การอ่าน เป็นการแปลสัญลักษณ์ออกมาเป็นคาพูด โดยการผสมเสียงเพื่อใช้ในการออก เสียงให้ตรงกับคาพูด การอ่านแบบนี้มุ่งให้สะกดตัวผสมคาอ่านเป็นคา ๆ ไม่สามารถใช้สื่อความโดยการฟังได้ ทันที เป็นการอ่านเพื่อการอ่านออก มุ่งให้อ่านหนังสือได้แตกฉานเท่านั้น 2. การอ่าน เป็นการใช้ความสามารถในการผสมผสานของตัวอักษร ออกเสียงเป็นคาหรือ เป็นประโยค ทาให้เข้าใจความหมายในการสื่อความโดยการอ่าน หรือฟังผู้อื่นอ่านแล้วรู้เรื่องเรียกว่า อ่านได้ ซึ่ง มุ่งให้อ่านแล้วรู้เรื่องสิ่งที่อ่าน

9

3. การอ่าน เป็นการสื่อความหมายที่จะถ่ายโยงความคิดความรู้จากผู้เขียน ถึงผู้อ่าน การ อ่านลักษณะนี้เรียกว่าอ่านเป็นผู้อ่านย่อมเข้าใจถึงความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียน โดยอ่านแล้วสามารถประเมินผล ของสิ่งที่อ่านได้ สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์ ( 2558 : 8 ) กล่าวว่า การอ่าน คือ การับรู้ความหมาย จากถ้อยคาที่ตีพิมพ์อยู่ในสิ่งพิมพ์ หรือ หนังสือ โดยผู้อ่านรับรู้ว่าผู้เขียนได้ส่งสารอะไรมายังผู้อ่านทั้งในด้าน ความคิด ความรู้ ความหมาย ความสัมพันธ์กับสิ่งอื่นว่าผู้เขียนตั้งใจจะแสดงความคิดอย่างไร มีความหมายว่า กระไร เกี่ยวข้องถึงอะไรบ้าง ลาดับขั้นของการอ่านจะเริ่มต้นตั้งแต่การทาความเข้าใจในถ้อยคาแต่ละคา กลุ่มคาแต่ละกลุ่ม และเรื่องราวแต่ละเรื่องราวที่เรียงรายต่อเนื่องกันอยู่ในย่อหน้าหนึ่ง หรือในตอนหนึ่ง หรือใน เรื่องหนึ่ง ซึ่งผู้อ่านต้องทาความเข้าใจไปทีละตอนเป็นลาดับ ประเทิน มหาขันธ์ (2554 : 13) ได้ให้ความหมายการอ่านไว้ว่า เป็นกระบวนการในการ แปลความหมายของตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ที่มีการจดบันทึกไว้ การอ่านที่แท้จริงผู้อ่านจะต้องเข้าใจ ความหมายของเรื่องที่อ่าน ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานด้วย ทัศนีย์ ศุภเมธี (2558 : 24) กล่าวว่า การอ่าน คือ การแปลสัญลักษณ์ที่เขียนหรือพิมพ์ ให้มีความหมายออกมา สัญลักษณ์ในภาษาไทย คือ คา ข้อความ จึงเป็นเรื่องสาคัญมากในการสอนอ่านเพื่อ นักเรียนจะต้องเข้าใจความหมายและนาไปใช้ในการฟัง พูด และเขียนได้อย่างถูกต้อง ประสารพร ชนะศักดิ์ (2557 : 10) กล่าวว่า การอ่าน คือ กระบวนการในการถ่ายทอด ความรู้สึกนึกคิด ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ จากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร โดยใช้สัญลักษณ์เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด และการที่ผู้อ่านจะเข้าใจเรื่องราวตามเจตนารมณ์ของผู้เรียนเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับความสามารถทางภาษา ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม และทัศนคติของผู้อ่าน ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2552 : 1 ) กล่าวว่า การอ่าน คือ ความเข้าใจสัญลักษณ์ เครื่องหมาย รูปภาพ ตัวอักษร คาและข้อความที่พิมพ์หรือเขียนขึ้นมา แลปป์ ( Lapp, 2015 : 463) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่า การอ่านเป็นกระบวนการ รับรู้อักษร ความหมายของคา ตีความของข้อเขียนมาเป็นความเข้าใจ ขั้นตอนแรกของการอ่าน คือ เพื่อสื่อ ความหมาย กระบวนการของการอ่าน คือ รับรู้ตัวอักษะ รู้จุดมุ่งหมาย สามารถสื่อความหมายของข้อความนั้น และสร้างปฏิกิริยาตอยสนองกับความรู้ใหม่ที่ได้จากข้อเขียนซึ่งขึ้นอยู่กับความรู้และประสบการณ์เดิมของ ผู้อ่าน ดี แลบ และเจ ฟลอด (D. Lapp and J. Flood, อ้างถึงใน สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์,2557 : 2 ) ให้คาจากัดความของการอ่านว่า เป็นกระบวนการที่ผู้อ่านแปลความ คา หรือสัญลักษณ์ที่เป็นตัวอักษรให้ เข้าใจ ซึ่งขั้นตอนของกระบวนการนี้มี 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 การรับรู้ตัวอักษร คา ประโยค และข้อความ ระดับที่ 2 การแปลความหมายของคา ประโยคและข้อความ

10

ระดับที่ 3 การทาความคุ้นเคยกับข้อมูลที่ได้ใหม่ โดยใช้ประสบการณ์เดิมหรือ ความรู้เดิม ช่วยในการตัดสินใจ ชาเรือง พัชทรชนม์ (2555 : 11 ) มีความเห็นในความหมายของการอ่านว่า การอ่านเป็น กระบวนการที่ซับซ้อนและมีความสาคัญต่อการพัฒนาถาวร และความอยู่รอดของมนุษย์จาเป็นอย่างยิ่งที่ควร ฝึกทักษะและกระบวนการอ่าน จากความคิดดังกล่าวสรุปได้ว่าการอ่านนั้นหมายถึง กระบวนการตีความหมายลายลักษณ์ อักษรจากการที่ผู้เขียนได้มีการถ่ายทอดมาให้แล้วนามาแปรเป็นความคิด ทาให้มีความเข้าใจ มีความรู้จากการ อ่าน และสามารถนาประโยชน์ที่ได้จากการอ่านมาใช้ในการดารงชีวิต

จุดมุ่งหมายการอ่าน จุดมุ่งหมายของการอ่าน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2556, หน้า 9) 1. อ่านเพื่อความรู้ ได้แก่ การอ่านจากหนังสือตาราทางวิชาการ สารคดีทางวิชาการ การวิจัยประเภท ต่าง ๆ หรือการอ่านผ่านสื่ออีเล็กทรอนิกส์ ควรอ่านอย่างหลากหลาย เพราะความรู้ในวิชาหนึ่ง อาจนาไปช่วย เสริมในอีกวิชาหนึ่งได้ 2. อ่านเพื่อความบันเทิงได้แก่ การอ่านจากหนังสือประเภทสารคดีท่องเที่ยว นวนิยาย เรื่องสั้น เรื่อง แปล การ์ตูน บทประพันธ์ บทเพลง แม้จะเป็นการอ่านเพื่อความบันเทิง แต่ผู้อ่านจะได้ความรู้ที่สอดแทรกอยู่ ในเรื่องด้วย 3. อ่านเพื่อทราบข่าวสารความคิด ได้แก่ การอ่านจากหนังสือประเภทบทความ บทวิจารณ์ ข่าว รายงานการประชุม ถ้าจะให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงต้องเลือกอ่านให้หลากหลาย ไม่ เจาะจงอ่านเฉพาะสื่อ ที่นาเสนอตรงกับความคิดของตน เพราะจะทาให้ได้มุมมอง ที่กว้างขึ้น ช่วยให้มีเหตุผล อื่น ๆ มาประกอบการวิจารณ์ วิเคราะห์ได้หลายมุมมองมากขึ้น 4. อ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะทางแต่ละครั้ง ได้แก่ การอ่านที่ไม่ได้เจาะจง แต่เป็นการอ่านในเรื่องที่ ตนสนใจ หรืออยากรู้ เช่น การอ่านประกาศต่าง ๆ การอ่านโฆษณา แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ สลากยา ข่าว สังคม ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา การอ่านประเภทนี้มักใช้เวลาไม่นาน ส่วนใหญ่เป็นการอ่านเพื่อให้ได้ความรู้และ นาไปใช้ หรือนาไปเป็นหัวข้อสนทนา เชื่อมโยงการอ่าน สู่การวิเคราะห์ และคิดวิเคราะห์ บางครั้งก็อ่านเพื่อ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ในการอ่านของแต่ละบุคคลมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปจุดประสงค์ของการอ่านมี 3 ประการ คือ 1. การอ่านเพื่อความรู้ ได้แก่ การอ่านหนังสือประเภทตารา สารคดี วารสาร หนังสือพิมพ์ และข้อความต่าง ๆ เพื่อให้ทราบเรื่องราวอันเป็นข้อความรู้ หรือเหตุการณ์บ้านเมือง

11

2. การอ่านเพื่อความคิด เป็นการศึกษาแนวคิดของผู้อื่นเพื่อนามาเป็นแนวทางสาหรับความคิดของตนเอง และ อาจนามาเป็นแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิตหรือแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิต เพราะแนวความคิดทางปรัชญา วัฒนธรรม จริยธรรม และความคิดเห็นทั่วไป มักแทรกอยู่ในหนังสือแทบทุกประเภท 3. การอ่านเพื่อความบันเทิง เช่น เป็นการอ่านเพื่อฆ่าเวลา หรืออ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดีในเวลาว่าง ประโยชน์ของการอ่าน ประโยชน์ของการอ่าน (ศรีรัตน์ เจิงกลิ่นจันทร์, 2559, หน้า 6) 1. เป็นการสนองความต้องการของมนุษย์ 2. ทาให้มนุษย์เกิดความรู้ทักษะต่างๆตลอดจนความก้าวหน้าทางวิชาชีพ 3. ทาให้มนุษย์เกิดความคิดสร้างสรรค์ความเพลิดเพลินบันเทิงใจและเกิดความบันดาลใจ 4. เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 5. ทาให้มนุษย์ทันต่อเหตุการณ์ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของโลก 6. เป็นการส่งเสริมสุขภาพของมนุษย์ 7. ช่วยให้มนุษย์แก้ปัญหาสังคม การเมือง เศรษฐกิจและปัญหาส่วนตัว ประเภทของการอ่าน วิจิตรา แสงพลสิทธิ์และคนอื่น ๆ (2559 ,หน้า 135) ได้แบ่งประเภทของการอ่านไว้ 2 ชนิด 1. การอ่านออกเสียง คือการอ่านตามตัวหนังสือเพื่อให้ผู้อื่นฟัง ผู้อ่านจะต้องอ่านได้ชัดเจนถูกต้องตามหลัก ภาษาและความนิยม 2. การอ่านในใจ คือ การทาความเข้าใจกับตัวอักษร เป็ นการอ่านเพื่อตัวผู้อ่านเองซึ่งจะได้รับประโยชน์มาก น้อยเพียงใดย่อมขึ ้นอยู่กับความสามารถของผู้อ่านแต่ละคนนอกจากนั้น ทัศนีย์ ศุภเมธี (2557,หน้า 67-70) ก็ ได้แบ่งประเภทของการอ่านเป็น 2 ประเภท เช่นเดียวกัน คือ 1. การอ่านในใจซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นมากในชีวิตประจาวัน ที่จะทาให้วัตถุประสงค์ทั้งหมดนี้ บรรลุผล อาทิเช่น การอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ การอ่านเพื่อตอบคาถาม การอ่านเพื่อเรียงลาดับเหตุการณ์ แม้แต่การอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน 2. การอ่านออกเสียง มีคุณค่าทางการเรียนมากช่วยให้เด็กมีทักษะมากขึ้นอ่านได้คล่องแคล่ว ถูกต้อง รู้จักความ ไพเราะของบทร้อยกรองต่างๆการอ่านออกเสียงมีกระบวนการแตกต่างจากการอ่านในใจทฤษฎีทางจิต ภาษาศาสตร์(Psycholinguistics) ได้อธิบายกระบวนการของการอ่านไว้ว่า กระบวน การของการอ่าน เป็นการแสดงปฏิกิริยาร่วมระหว่างความคิดและภาษา กล่าวคือ ไม่ว่าผู้อ่านจะใช้วิธีออกเสียงปากเปล่า หรือออกเสียงในใจต่างก็ใช้ความคิดของตนเองเข้าไปวิเคราะห์ความหมายของภาษาเขียนซึ่งใช้ ตัวหนังสือเป็ นสื่อ กู๊ดแมน ซึ่ง(สมศกัดิ์สินธุระเวชญ์ 2556 , หน้า 17-18 อ้างอิงมาจาก Goodmen 2016 , หน้า16)

12

การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคาและข้อความทั้งหมด โดย พิจารณาถึงความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อความหมาย ซึ่งทั้งนี้ผู้อ่านจะ สามารถตีความหมายของคาสานวนได้ถูกต้องหรือไม่นั้นจาเป็นต้องอาศัยเนื้อความแวดล้อมของข้อความนั้นๆ บางครั้งต้องอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียง หมายถึงการอ่านข้อความโดยการเปล่งเสียงออกมาเพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ข้อความนั้นๆ ด้วยการอ่านออกเสียงแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ 1. การอ่านออกเสียงปกติ เป็นการอ่านออกเสียงตามปกติทั่วไป อ่านได้ทั้งบทร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น อ่านข่าว อ่านประกาศ อ่านตีบท อ่านสารคดี อ่านข้อความประกอบภาพนิ่ง หรืออ่านบทภาพยนตร์ ฯลฯ ข้อควรปฏิบัติในการอ่านออกเสียงตามปกติ - ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอ่านก่อนการอ่านจริง - ออกเสียงชัดเจน ดังพอประมาณ มีลีลาจังหวะในการอ่านอย่างเหมาะสม - แบ่งวรรคตอนได้ถูกต้อง - อ่านออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี 2. อ่านทานองเสนาะ การอ่านทานองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรือวรรณคดีไทยให้ ไพเราะน่าฟัง มุ่งให้เกิดความรู้สึกซาบซึ้ง เกิดอารมณ์ จินตนาการ คล้อยตามบทร้อยกรองนั้น ๆ ด้วย หลักเกณฑ์ในการอ่านทานองเสนาะ - ต้องรู้จักลักษณะคาประพันธ์ที่จะอ่านก่อนว่าบังคับฉันทลักษณ์อย่างไร - อ่านให้ถูกทานอง - ควรมีน้าเสียงและลีลาในการอ่านที่ดี - ออกเสียงแต่ละคาถูกต้องชัดเจน การอ่านในใจ การอ่านในใจ คือการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิด ความเข้าใจ และนาความคิด ความเข้าใจที่ได้นั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ประเภทของการอ่านดังต่อไปนี้คือ 1. การอ่านจับใจความ การอ่านจับใจความเป็นพื้นฐานของการอ่านในใจที่มุ่งคุณค่าทางสติปัญญา แบ่งการอ่านชนิดนี้ ออกเป็น 2 ประเภทคือ 1.1 การอ่านจับใจความส่วนรวม เป็นการอ่านเพื่อเข้าใจเนื้อหาส่วนรวม เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ ต้องการอ่านอย่างรวดเร็ว วิธีการอ่าน 1) สังเกตส่วนประกอบของงานเขียน เช่น ชื่อเรื่อง คานาวัตถุประสงค์ ของผู้เขียนว่าเป็นงาน เกี่ยวกับอะไร และเขียนเพื่ออะไร

13

2) วิเคราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนว่าเขียนด้วยวัตถุประสงค์ใด 3) จัดลาดับเนื้อหาใหม่ตามความสาคัญ 4) ใช้การตั้งคาถามกว้าง ๆ ว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และทาไม เพื่อหา ความสัมพันธ์ในการดาเนินเรื่อง การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคาและข้อความทั้งหมด โดย พิจารณาถึงความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อความหมาย ซึ่งทั้งนี้ผู้อ่านจะ สามารถตีความหมายของคาสานวนได้ถูกต้องหรือไม่นั้นจาเป็นต้องอาศัยเนื้อความแวดล้อมของข้อความนั้นๆ บางครั้งต้องอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ปัจจุบันเป็นเครื่องช่วยตัดสินการอ่านตีความมีหลักเกณฑ์ในการ อ่านดังนี้ การอ่านตีความอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้อ่านต้องพิจารณาความหมายโดยอาศัยบริบท น้าเสียงของ ผู้เขียน เจตคติ ภูมิหลังของเหตุการณ์ประกอบด้วย ข้อปฏิบัติในการอ่านตีความ - อ่านเรื่องให้ละเอียดโดยพยายามจับประเด็นสาคัญของเรื่องให้ได้ - หาเหตุผลอย่างรอบคอบเพื่อพิจารณาว่ามีความหมายถึงสิ่งใด - ทาความเข้าใจกับถ้อยคาที่ได้จากการตีความ - เรียบเรียงถ้อยคาให้มีความหมายชัดเจนและมีเหตุมีผลเป็นหลักสาคัญ

14

บทที่3 วิธีดาเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยดาเนินการศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. ประชากร 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประชากร 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีปีที่ 2/1 สาขาการ บัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ ในภาคเรียนที่ 1/2562 ที่เรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ ฟังพูด ในภาคเรียนที่ 1/2562 จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 42 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีปีที่ 2/1 จานวน 30 คน ขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้วิจัยได้ใช้การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนื่องจากมี ความพร้อมและยินยอมในการให้ความร่วมมือในการทดลอง จากนั้นผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีปีที่ 2/1 จานวน 30 คน เป็นกลุ่มทดลอง จานวน 15 คน และกลุ่มควบคุม จานวน 15 คน เหตุผลในการกาหนดจานวนของนักเรียนในการ วิจัย คือ ต้องเป็นนักเรียนที่มาเรียนสม่าเสมอ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล - แบบทดสอบการอ่านแบบ Conversation - แบบทดสอบก่อนเรียน และ แบบทดสอบหลังเรียน การรวบรวมข้อมูล การฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ผู้วิจัยได้ดาเนินการสอนอ่านเนื้อเรื่องและแปลประโยคให้กับ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีปีที่ 2/1 โดยใช้เวลาในการสอนสัปดาห์ละ 2 คาบเรียน คาบละ 50 นาที จานวน 12 คาบ เป็นเวลา 6 สัปดาห์ 1. ระยะก่อนการทดลอง ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดสอบก่อนการเรียน (Pre–test) โดยใช้เนื้อเรื่อง ภาษาอังกฤษ ให้นักเรียนได้อ่านออกเสียงตาม Conversation 2. ระยะทาการทดลอง ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โดยนาเด็กกลุ่ม ทดลองมาสอนด้วย Conversation ภาษาอังกฤษ ฝึกการอ่านออกเสียง การค้นหาความหมายจากการฝึกเปิด พจนานุกรม หรือเดาความหมายจากประโยค เพื่อแปลเป็นภาษาไทยและตอบคาถามตามเนื้อเรื่องหรือทา

15

แบบฝึกหัด 3. ระยะหลังการทดลอง หลังจากเรียนจนครบตามกาหนดแล้ว ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดสอบหลังการทดลอง (Post – test) อีกครั้ง โดยผู้วิจัยให้นักเรียนทาการทดสอบชุดเดิมนาผลของคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ เสนอผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้แก่ - นางสาวพีรพร กาญจนอุทัยศิริ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ - นางสาววิไลลักษณ์ สิหิง หัวหน้าสาขาพื้นฐาน - นางสาวนรีทิพย์ นิสสัยสุข ครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อพิจารณาหาความเที่ยงตรง ความถูกต้องของข้อคาถาม และนามาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ นาแบบทดสอบการวัดเจตคติที่แก้ไขแล้ว พิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์เพื่อไปทดสอบกับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2/1 สาขาการบัญชี จาวนวน 20 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างนาแบบทดสอบ การอ่านที่ผ่านการตรวจสอบแล้วพิมพ์เป็นแบบทดสอบการอ่านฉบับจริงเพื่อไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จัดทาแบบทดสอบการอ่านโดยเลือกใช้แบบ Conversation โดยเลือกเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับบทเรียน ในหนังสือภาษาอังกฤษฟัง – พูด โดยเลือกเรื่อง What’s your Job? ในบทที่ 6 โดยเป็นรูปแบบสลับกันอ่าน A กับ B ในรูปแบบ Conversation โดยเป็นการสนทนาโต้ตอบแบบต่อเนื่องจนจบบทสนนา 1. ขั้นวิเคราะห์ (Analysis) 1.1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนได้กาหนดไว้ดังนี้ประชากร คือ นักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1/2562 จาวนวน 15 คน 1.2 วิเคราะห์พัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยการหาค่าเฉลี่ย และระดับทัศนคติ 2. ขัน้ ออกแบบ (Design) ผู้วิจัยดาเนินการสร้างแบบวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ โดยมีลาดับขั้นตอนการสร้าง ดังนี้ 2.1 ศึกษาเทคนิคการสร้าง Conversation บทสนทนา 2.2 สร้างแบบทดสอบการอ่านในหัวข้อเรื่อง What’s your Job?

16

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2/1 สาขาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ ในภาคเรียนที่ 1/2562 จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 15 คน ที่มีต่อวิชา ภาษาอังกฤษฟังพูดเพื่อนาผลการวิจัยมาเก็บเป็นข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาสาหรับการเรียนการสอน และเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่ดีและเห็นประโยชน์คุณค่าของวิชาภาษาอังกฤษ โดย การใช้แบบทดสอบการอ่านจานวน 4 บทสนทนา ผู้วิจัยได้ทาวิจัย โดยให้นักเรียนทดสอบ การอ่านของนักเรียน ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล 1 วิเคราะห์ผลจากคะแนนที่ได้จาการทาแบบสอบถามวัดเจตคติ 2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล X = X  แทนค่า X

ค่าเฉลี่ย X 

แทนผลรวมของคะแนนของผู้เรียน แทนจานวนผู้เรียน

วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล วิเ คราะห์ ข้อ มู ล เปรี ย บเที ยบคะแนนที่ไ ด้ จ ากการสอบก่ อ นเรี ย นและการสอบหลั งเรี ย น ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม สมมติฐานที่ 1 คะแนนการทดสอบการอ่านของนักเรียนก่อนการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุมไม่แตกต่างกันมาก สมมติฐานที่ 2 คะแนนการทดสอบการอ่านของนักเรียนหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุมไม่แตกต่างกันมาก

17

ตารางที่ 1

ทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม 10 คะแนน รวม 30 คะแนน กลุ่มทดลอง

คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 4 3 3 3 3 4 4 4 5 4 5 5 5 4 4 3 5 4 4 6 5 5 4 5 4 4 4 3 5 4 3 5 3 4 5 3 4 5 4 5 4 5 4 5 4 X X

กลุ่มควบคุม รวม 11 10 13 14 13 12 15 14 12 12 11 12 13 14 13

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 4 3 3 3 3 3 4 4 3 4 3 5 5 4 3 3 3 3 3 4 5 3 4 5 4 4 3 3 3 4 3 5 3 4 4 3 4 3 4 5 3 3 3 3 3

รวม 10 9 11 12 12 9 12 12 11 10 11 11 11 11 9

189

X X

161

12.73

10.73

จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ พบว่า เป็นไปตามสมมติฐานที่ 1 ที่ตั้งไว้คือ คะแนนที่ได้จากการ ทดสอบการอ่านของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการทดลองไม่แตกต่างกันมาก คือ กลุ่ม ทดลองมีผลรวมของคะแนนเป็น 191 และ และมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 12.73 ส่วนกลุ่มควบคุมมีคะแนนเป็ น 161 และมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 10.73 ตามลาดับ แสดงว่านักเรียนทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมนั้นมีวุฒิ ภาวะความพร้อม พื้นฐานความรู้ และประสบการณ์ในการอ่านน้อย จึงทาให้คะแนนที่ได้ไม่แตกต่างกัน มาก

18

ตารางที่ 2

ทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม 10 คะแนน รวม 30 คะแนน กลุ่มทดลอง

คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 7 8 7 8 8 6 7 7 6 7 9 8 6 9 9 9 6 8 5 7 7 8 6 7 8 7 7 6 6 6 7 9 8 8 6 6

กลุ่มควบคุม รวม 22 22 20 24 24 23 19 21 22 12 24 20

กลุ่มทดลอง คนที่ 13 14 15

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 8 8 9 8 6 9 5 7 8 X X

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 5 5 6 6 5 7 5 6 7 6 6 5 5 7 6 6 6 6 6 7 5 6 7 6 5 5 6 5 5 6 5 7 6 7 6 5

รวม 16 18 18 17 18 18 18 19 16 16 18 18

กลุ่มควบคุม รวม 25 23 20 321 21.40

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 6 5 7 6 5 6 6 5 6 X X

รวม 18 17 17 262 17.46

จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ พบว่า หลังทาการทดลองคะแนนของกลุ่มทดลองมีผลรวม ของคะแนนเป็น 321 โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 21.40 และคะแนนของกลุ่มควบคุมมีผลรวมของคะแนนเป็น 262 โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 17.46 ซึ่งมีความแตกต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ 2 ที่ตั้งไว้ แสดง ว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนการอ่านสูงกว่ากลุ่มควบคุม

19

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบคะแนนการอ่านของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อน และหลังการทดสอบ การทดสอบ X X  ก่อนการเรียน กลุ่มทดลอง 15 191 12.73 ก่อนการเรียน กลุ่มควบคุม 15 161 10.73 หลังการเรียน กลุ่มทดลอง 15 321 21.40 หลังการเรียน กลุ่มควบคุม 15 262 17.46 จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติตารางที่ 3 พบว่าก่อนทาการทดลองคะแนนของกลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยเป็น 12.73 และคะแนนของกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเป็น 10.73 และหลังทาการทดลองคะแนนของ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเป็น 22.46 และคะแนนของกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเป็น 17.46 ซึ่งมีความแตกต่างกัน มากอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ 2 ที่ตั้งไว้ แสดงว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนการอ่านสูงกว่ากลุ่ ม ควบคุม เด็กสามารถเรียนการอ่านได้ดี และรักการอ่านมากขึ้น บ่งบอกถึงประสิทธิผลของเครื่องมือในการใช้ เนื้อเรื่องภาษาอังกฤษ SRA ที่ทาการทดลองเป็นเรื่องที่เรียงลาดับจากเรื่องง่ายไปเรื่องยากและมีภาพประกอบ รวมทั้งแบบฝึกหัดที่เด็กจะสามารถอ่านได้ง่ายและน่าสนใจ เป็นการเริ่มต้นให้เด็กฝึกและหัดอ่าน เพราะเด็ก สามารถจดจาคาศัพท์ไว้ในหน่วยความจา จึงสามารถอ่านจับใจความได้เมื่อมีการทดสอบภายหลัง สุไร (2525) กล่าวว่า การสอนอ่านมีความสาคัญ และมีคุณค่าต่อผู้เรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการสอนภาษาเพราะเป็นการ เร้าความความสนใจของเด็กมั่งทาให้นักเรียนที่ทากิจกรรมลืมไปว่าตนกาลังเรียนอยู่ขณะที่ตนก็ใช้ภาษาไปด้วย ซึ่งทาให้นักเรียนใช้ภาษาได้คล่องแคล่วมากขึ้น ตารางที่ 4 แสดงผลการวิเคราะห์แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการสอนการอ่าน วิธีการที่ใช้ในการสอนการอ่านภาษาอังกฤษ ค่าเฉลี่ย 1. มีความเป็นกันเองกับผู้เรียน 6.12 2. สอนวิธีการอ่านที่เข้าใจง่ายและสามารถปฏิบัติตามได้จริง 5.12 3. บุคลิกการสอนท่าทางน้าเสียงในการสอนมีความน่าเชื่อถือ 4.75 4. ให้ความรู้ที่สามาถนาไปปฏิบัติตามได้จริงในการเรียนและในอนาคต 5.23 5. สอนการอ่านตามหลัก Phonetic ให้ผู้เรียนเข้าใจได้อย่างง่าย 6.45 6. มีการออกเสียงเป็นตัวอย่างที่ถูกต้องและชัดเจน 7.56 7. ผู้สอนมีสื่อการเรียนรู้ที่พร้อมต่อการเรียนการสอน 3.36 8. ใช้สื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัยและผู้เรียนเข้าใจง่าย 4.45 9. ผู้สอนให้คาแนะนากับผู้เรียนอย่างใกล้ชิด 5.12 10. ผู้สอนแนะนาวิธีการแก้ปัญหาการอ่านออกเสียงอย่างถูกต้อง 6.23 11. เทคนิคการสอนของผู้สอนส่งเสริมให้พัฒนาการอ่านของผู้เรียนดีขึ้น 7.15

20

12. ผู้สอนดูแลและให้ความรู้กับผู้เรียนอย่างใกล้ชิด 13. ผู้เรียนเปิดสื่อการออกเสียงของ Native speaker ให้กับผู้เรียนเป็นสื่อที่ ให้ความรู้เกี่ยวกับการอ่านอย่างถูกต้องและตรงประเด็น 14. เมื่อผู้เรียนออกเสียงไม่ถูกต้องผู้สอนมีวิธีการแนะนาการอ่านด้วยความ เป็นกันเองและเข้าใจง่าย 15. วิธีการสอนของผู้สอนสามารถทาให้ผู้เรียนนาไปใช้ในการเรียนได้จริง รวม เฉลี่ย

5.16 4.26 4.65 6.37 81.98 5.46

จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีทัศนะติที่ดีต่อวิธีการสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดยจาก การรวมคะแนนจากแบบสอบถามทั้งหมดอยู่ที่ 81.98 คะแนน เฉลี่ยเป็น 5.46 คะแนน แสดงว่าผู้เรียนเห็นด้วย อย่างมากกับวิธีการสอนฝึกทักษะการอ่าน บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย 1. ผลจากการศึกษาผลการพัฒนาการอ่านของผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบการอ่านแบบ Conversation โดยมีการอ่านแบบสลับกันเป็นแบบ A กับ B ได้ผลลัพธ์จากการทดสอบ คือ กลุ่มที่ทาการทดสอบหลังเรียนมี คะแนนค่าเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มก่อนเรียนซึ่งกลุ่มทดสอบก่อนเรียนค่าเฉลี่ยเป็น 9.38 และคะแนนของกลุ่มทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเป็น 15.64 ซึ่งมีความแตกต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด 2. การวัดประเมินความพึงพอใจต่อวิธีการสอนสรุปได้ว่านักเรียนมีทัศนะติที่ดีต่อวิธีการสอนการอ่าน ภาษาอังกฤษโดยเฉลี่ยจากคะแนนแบบสอบถามทั้งหมด 51.43 คะแนน เฉลี่ยเป็น 3.42 คะแนน แสดงว่า ผู้เรียนเห็นด้วยอย่างมากกับวิธีการสอนฝึกทักษะการอ่าน อภิปรายผลการศึกษา 1. พบว่านักเรียนมีพัฒนาการการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนดีขึ้นมากกว่าก่อนเรียนซึ่งก่อนทาการ ทดลองคะแนนของกลุ่มทดสอบก่อนเรียนค่าเฉลี่ยเป็น 9.38 และคะแนนของกลุ่มทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย เป็น 15.64 ซึ่งมีความแตกต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสอดคล้องกับการอ่าน คือ กระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้ สารซึ่งเป็นความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรการที่ ผู้อ่านจะเข้าใจสารได้มากน้อยเพียงไรขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความสามารถในการใช้ความคิด (มณี รัตน์ สุกโชติรัตน์, 2557, หน้า 18) การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิด การอ่านทาให้รู้ข่าวสาร ข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกของข้อมูลข่าวสารต่างๆทั่วโลกทาให้ผู้อ่านมีความสุข มีความหวัง การ อ่านมีประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต

21

2. จากการให้นักเรียนทาแบบสอบถามเกี่ยวกับการวัดความพึงพอใจวิธีการสอนการอ่านภาษาอังกฤษ พบได้ว่านักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิธีการสอนการอ่านภาษาอังกฤษซึ่งมีคะแนนอยู่ที่ 81.98 รวมเฉลี่ยเป็น 5.46 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าวิธีการเรียนการสอนการอ่านภาษาอังกฤษทาให้พัฒนาการอ่านของนักเรียนดีขึ้นจริง ข้อเสนอแนะ 1.วิธีการนี้เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถพิจารณานาไปใช้ในการส่งเสริมพัฒนาการด้านการอ่านของเด็ก เนื่องจาก ในการฝึกทักษะการอ่านเด็กจะเกิดความพร้อมในด้านต่าง ๆ คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาพร้อม ๆ กันไป 2. สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือชนิดอื่นๆเพื่อส่งเสริมการอ่าน เช่น หนังสือพิมพ์ วีดีโอ Multimedia

บรรณานุกรม ธีราภรณ์ พลายเล็ก (2555) การพัฒนาทักษะการออกเสียงพยัญชนะท้ายคาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปาณิสา สอนสุวิทย์ (2556) งานวิจัยเรื่องการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาการออกเสียง ภาษาอังกฤษในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ (English for career) มานิตย์ บุญมา (2556) งานวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงและเขียนสะกดคา ศัพท์ ภาษาอังกฤษของนักศึกษา ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่2 ห้อง EL/EP 201 วิทยาลัย เทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ วราภรณ์ ประพงษ์ (2559) การพัฒนาการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษด้านการบริหารโดยใช้สื่อ (Vocabulary box) วิชาการบริหารคุณภาพในองค์การของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส. ปีที่ 1/3 และ ปวส. พิเศษ ปีที่ 1/3) สาขาการตลาด วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการ เชียงราย ปีการศึกษา 2559 โสภิตา โตโร่ (2557) การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 English Pronunciation Skill Development of the M.1 Students Through Additional English Reading Exercise กิตติกานต์ ธนบดีอาพน (2557) การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคาศัพท์Phonics โดยใช้แบบฝึก ทักษะการอ่านออกเสียง Phonics ของนักศึกษาชั้นปวช.ปีที่ 3/6 จุฑาภรณ์ ปุณะตุง (2556) การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสะกดคา (orthography) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชุมชนบ้านตูมวิทยาคาร ทัศนีย์ ศุภเมธี (2551) งานวิจัยเรื่องประเภทของการอ่านออกเสียง

22

ศศิธร ธัญญาเจริญ. (2552) การอ่านเป็นคาโดยใช้ภาพประกอบเพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านคา ประสมสระเดี่ยวของนักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตคณะ ศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2551) วิจัยเรื่องการมีวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต กรมวิชาการ (2551) ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ

23