แผนยุทธศาตร์ฯ (พ.ศ. 2565-2569) Flipbook PDF

แผนยุทธศาตร์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 (พ.ศ. 2565-2569)
Author:  I

78 downloads 123 Views 8MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

คำนำ แผนยุทธศาสตร์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 -2569) ฉบับนี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการและดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ และแผนกลยุทธ์ของสถาบัน ในการผลิตและพัฒนากาลังคนด้านอาชีวศึกษาให้ตรงต่อความต้องการ ของตลาดแรงงานและเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ ที่สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ในระดั บต่ าง ๆ ได้ แก่ ยุ ทธศาสตร์ ชาติ ระยะ 20 ปี แผนยุ ทธศาสตร์ กระทรวงศึ กษาธิ การ (พ.ศ. 2563 - 2565) แผนการศึก ษาแห่ งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒ นาการอาชีว ศึ ก ษา (พ.ศ. 2560 - 2579) และนโยบายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอาชีวศึกษา แผนยุ ท ธศาสตร์ ส ถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษาภาคกลาง 2 มี ส าระส าคั ญ พื้ น ฐานที่ ส อดคล้ อ ง กับแผนยุทธศาสตร์ การพัฒ นาสถาบั น การอาชีว ศึ ก ษา และแผนพัฒ นาด้ านต่ าง ๆ ที่เกี่ย วข้ อ งกั บ การศึกษา ทั้งนี้แผนพัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ฉบับนี้เป็นเครื่องมือในการบูรณาการ การปฏิบัติราชการและผลักดันการดาเนินการในภารกิจงานของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ภายใต้สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ ตอบสนองเป้าหมายและผลลัพธ์ตามยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติ ราชการประจาปี และแผนการ บริหารราชการแผ่นดินได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม อันจะก่อให้ เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศอย่างยั่งยืน สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือในการจัดทา แผนพัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) จนสาเร็จได้เป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ จะเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันและเป็นไปตามวิสัยทัศน์และพันธกิจของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 เพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ต่อไป สานักพัฒนายุทธศาสตร์และความร่วมมืออาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2



สำรบัญ หน้ำ คำนำ ก สำรบัญ ข ส่วนที่ 1 บทนา 1 แนวคิดและกระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 1 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) 1 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 4 แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 - 2579 8 การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาสู่การปฏิบัติ 13 แนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาสู่การปฏิบัติ 13 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 17 ภารกิจหลักของสถาบันการอาชีวศึกษา 18 ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) 23 ส่วนที่ 4 แผนยุทธศาสตร์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) 24 วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ปรัชญา พันธกิจ ประเด็นและเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ โครงการที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ของสาถบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 26 แผนภาพสรุปแผนพัฒนายุทธศาสตร์สถาบันการอาชีวศึกษา ระยะ 5 ปี 32 การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 33 ภำคผนวก - คาสั่งสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ที่ 144/2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคกลาง 2 - ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการจัดตั้งส่วนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 - กฎกระทรวงการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 - พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551



ส่วนที่ 1 บทนำ แนวคิด และกระบวนกำรจั ดทำแผนยุทธศำสตร์ สถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) สถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษาภาคกลาง 2 เป็ น สถาบั น การศึ ก ษาเพื่ อ ผลิ ต และพั ฒ นาก าลั ง คน ด้านอาชีวศึกษาโดยมีกระบวนการผลิตและพัฒนากาลังคน เพื่อเพิ่มผลผลิตและส่งเสริ มการพัฒนา เศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศให้ ได้ระดับมาตรฐานสากล ตอบสนองความต้องการการผลิ ต และการพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพ ระดับฝีมือ ระดับเทคนิค ระดับเทคโนโลยี และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ดังนั้น เพื่อให้การผลิ ตและพัฒ นากาลังคนด้านอาชีว ศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล การขับเคลื่อนทางนวัตกรรม จึงได้นานโยบายและแผนยุทธศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องมาใช้เป็นแนวทางในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) โดยมีรายละเอียดดังนี้ ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติได้ดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) เพื่ อ ใช้ เ ป็ น กรอบแนวทางการพั ฒ นาประเทศในระยะ 20 ปี โดยก าหนดวิ สั ย ทั ศ น์ เป้ า หมาย และยุทธศาสตร์ ดังนี้ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ควำมมั่ น คง หมายถึ ง การมี ค วามมั่ น คงปลอดภั ย จากภั ย และการเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ภายในประเทศและภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจก บุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่อง และโปร่ ง ใสตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล สั ง คมมี ค วามปรองดองและความสามั ค คี สามารถผนึ ก ก าลั ง เพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิตมีงาน และรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับ การดารงชีวิต มีการออมสาหรับวัยเกษียณ ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า มีที่อยู่อาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน ควำมมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืน จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับ ผลประโยชน์ จ ากการพั ฒ นาอย่ า งเท่ า เที ย มกั น มากขึ้ น และมี ก ารพั ฒ นาอย่ า งทั่ ว ถึ ง ทุ ก ภาคส่ ว น มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน

1

เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศเพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมี ก ารสร้ า งฐานเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง อนาคตเพื่ อ ให้ ส อดรั บ กั บ บริ บ ทการพั ฒ นา ที่เปลี่ ย นแปลงไป และประเทศไทยมีบ ทบาทที่สาคัญในเวทีโลก และมีความสั มพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้ง การคมนาคมขนส่ ง การผลิ ต การค้ า การลงทุ น และการท าธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ เ ป็ น พลั ง ในการพั ฒ นา นอกจากนั้ น ยั งมีความสมบู ร ณ์ในทุน ที่จะสามารถสร้างการพัฒ นาต่ อเนื่อ งไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ควำมยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิต ของ ประชาชนให้เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่ อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษา และการฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภค เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม สมบูรณ์มากขึ้นและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละ เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความสาคัญกับ การมีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างสมดุล มีเสถียรภาพและยั่งยืน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม และมีภาครั ฐ ของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ.2561 - 2580) มี 6 ยุทธศำสตร์ ดังนี้ 1. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำมมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราชอธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติ สั งคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนา คน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม

2

และภั ย พิ บั ติ ไ ด้ ทุ ก รู ป แบบ และทุ ก ระดั บ ความรุ น แรง ควบคู่ ไ ปกั บ การป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หา ด้านความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ทั้งกับ ส่ ว นราชการ ภาคเอกชนประชาสั งคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึ งประเทศเพื่อนบ้านและ มิตรประเทศทั่ว โลกบนพื้ น ฐานของหลั กธรรมาภิ บาลเพื่ อ เอื้ อ อานวยประโยชน์ต่ อ การดาเนิ น การ ของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอื่นๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทางและเป้าหมายที่กาหนด 2. ยุทธศำสตร์ ชำติ ด้ ำ นกำรสร้ ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน มี เ ป้ า หมายการพั ฒ นา ที่ มุ่ ง เน้ น การยกระดั บ ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ 1) “ต่อยอดอดีต ” โดยมองกลั บไปที่รากเหง้ าทางเศรษฐกิจ อัตลั กษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิ ถี ชี วิ ต และจุ ด เด่ น ทางทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ห ลากหลาย รวมทั้ ง ความได้ เ ปรี ย บ เชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่น ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวั ตกรรมเพื่อให้ สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ และสังคมโลกสมัยใหม่ 2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต 3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคน รุ่นใหม่ รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุน จากภาครั ฐ ให้ ป ระเทศไทยสามารถสร้ างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้า และการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคน ชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้าของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน 3. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ มี เ ป้ า หมาย การพั ฒ นาที่ สาคั ญ เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย มี ค วามพร้ อ มทั้ ง กาย ใจ สติ ปั ญ ญา มี พั ฒ นาการที่ ดี ร อบด้ า นและมี สุ ข ภาวะที่ ดี ใ นทุ ก ช่ ว งวั ย มีจิ ตสาธารณะ รั บ ผิ ดชอบต่อสั งคมและผู้ อื่น มัธ ยัส ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีล ธรรม และเป็ น พลเมื องดี ของชาติ มีห ลั กคิดที่ถูก ต้อ ง มีทักษะที่จาเป็น ในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่ อ สาร ภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็น คนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกรรม นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกร ยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง 4. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม มีเป้าหมายการพัฒนา ที่สาคัญที่ให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่ ว มขับ เคลื่ อน โดยการสนั บ สนุ น การรวมตัว ของประชาชน ในการร่ว มคิดร่ว มทาเพื่ อส่ ว นรวม การกระจายอานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติ สุ ข ภาพ เศรษฐกิ จ สั ง คม และสภาพแวดล้ อ มให้ เ ป็ น ประชากรที่ มี คุ ณ ภ าพ สามารถพึ่ ง ตนเอง และทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการ และสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง

3

5. ยุทธศำสตร์ ชำติ ด้ ำ นกำรสร้ ำ งกำรเติ บโตบนคุณ ภำพชี วิต ที่เ ป็น มิ ตรกั บ สิ่ งแวดล้ อ ม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้าน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายใน และภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้โดยเป็นการดาเนินการ บนพื้ น ฐานการเติ บ โตร่ ว มกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น ทางเศรษฐกิ จ สิ่ ง แวดล้ อ ม และคุ ณ ภาพชี วิ ต โดยให้ ความสาคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง 3 ด้าน อันจะนาไปสู่ความยั่งยืนเพื่อคนรุ่นต่อไปอย่างแท้จริง 6. ยุ ท ธศำสตร์ ช ำติ ด้ ำ นกำรปรั บ สมดุ ล และพั ฒ นำระบบกำรบริ ห ำรจั ด กำรภำครั ฐ มี เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่สาคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์ ส่ ว นรวม” โดยภาครั ฐ ต้ อ งมี ข นาดที่ เ หมาะสมกั บบทบาทภารกิ จ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าที่ในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่ งขันมีขีด สมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ ส่วนรวม มีความทันสมัยและพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่าง คุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิด โอกาสให้ ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่ว นร่ วม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมาย ต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จาเป็นมีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และ นาไปสู่ การลดความเหลื่อมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอานวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็ น แผนที่ ว างกรอบเป้ า หมายและทิ ศ ทาง การจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอ ภาค ในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มี สมรรถนะในการทางานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิด การจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสาคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการ จัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for ALL) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่ว ถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการ มีส่วนร่วมของสังคม(ALL For Education) อีกทั้งยึดตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคน ช่วงวัย การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลื่อมล้าของการกระจายรายได้ และวิ ก ฤติ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยน า ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ม าเป็ น กรอบความคิ ด ส าคั ญ ในการจั ด ท า แผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้

4

วิสัยทัศน์ คนไทยทุกคนได้รั บ การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด ารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒ นาคนไทยให้เป็น พลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่ส อดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติก ารศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ ชาติ 3. เพื่อพัฒ นาสังคมไทยให้เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกาลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มี รายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้าภายใน ประเทศลดลง ยุทธศำสตร์ ประกอบด้วย 6 ยุทธศำสตร์ ดังนี้ ยุทธศำสตร์ที่ 1 กำรจัดกำรศึกษำเพื่อควำมมั่นคงของสังคมและประเทศชำติ เป้ำหมำย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลั กของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ พิเศษ ได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3. คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ แนวทำงกำรพัฒนำ 1. พั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ เสริ ม สร้ า งความมั่ น คงของสถาบั น หลั ก ของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ยกระดับ คุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒ นาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดับ คุ ณ ภาพและส่ ง เสริ ม โอกาสในการเข้า ถึ ง การศึ ก ษาในพื้น ที่ พิ เ ศษ (พื้น ที่สู งพื้ น ที่ ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบและแรงงานต่างด้าว) 4. พัฒ นาการจัด การศึก ษาเพื่ อ การจัด ระบบการดู แ ลและป้ อ งกั น ภัย คุ ก คามใน รูป แบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัย จากโรคอุบัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นต้น ยุ ท ธศำสตร์ ที่ 2 กำรผลิ ต และพั ฒ นำก ำลั ง คน กำรวิ จั ย และนวั ต กรรมเพื่ อ สร้ ำ งขี ด ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ เป้ำหมำย 1. กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

5

2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและ เป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. การวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ สร้ า งองค์ ค วามรู้ แ ละนวั ต กรรมที่ ส ร้ า งผลผลิ ต และ มู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐกิจ แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาด งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลังคนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรพัฒนำศักยภำพคนทุกช่วงวัย และกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ เป้ำหมำย 1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะ ที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ 3. สถานศึ ก ษาทุ ก ระดั บ การศึ ก ษาสามารถจั ด กิ จ กรรม/กระบวนการเรี ย นรู้ ต าม หลักสูตรได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ 5. ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัดเวลา และสถานที่ 3. สร้า งเสริม และปรั บ เปลี่ย นค่ า นิ ย มของคนไทยให้ มีว ินั ย จิต สาธารณะและ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4. พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาคลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

6

ยุทธศำสตร์ที่ 4 กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทียมทำงกำรศึกษำ เป้ำหมำย 1. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย 3. ระบบข้ อ มู ล รายบุ ค คลและสารสนเทศทางการศึ ก ษาที่ ค รอบคลุ ม ถู ก ต้ อ ง เป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมินและรายงานผล แนวทำงกำรพัฒนำ 1. เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย 3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐานเชื่อมโยงและเข้าถึงได้ ยุทธศำสตร์ที่ 5 กำรจัดกำรศึกษำเพื่อสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้ำหมำย 1. คนทุกช่วงวัยมีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2. หลั ก สู ต ร แหล่ ง เรี ย นรู้ และสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิต ที่ เป็ น มิ ตรกับ สิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรมและ นาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต 2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ งานวิ จั ย และนวั ต กรรม ด้ า นการสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชีวิต ที่ เ ป็ น มิ ต รกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 6 กำรพัฒนำประสิทธิภำพของระบบบริหำรจัดกำรศึกษำ เป้ำหมำย 1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา 3. ทุกภาคส่ ว นของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและพื้นที่ 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลั กษณะ ที่แตกต่างกันของผู้เรียนสถานศึกษา และความต้องการกาลังแรงงานของประเทศ

7

5. ระบบบริห ารงานบุค คลของครู อาจารย์ และบุค ลากรทางการศึก ษามี ค วาม เป็นธรรม สร้างขวัญกาลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ แนวทำงกำรพัฒนำ 1. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4. ปรับ ปรุง กฎหมายเกี ่ย วกับ ระบบการเงิน เพื ่อ การศึก ษาที ่ส ่ง ผลต่อ คุณ ภาพ และประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 5. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา แผนพัฒนำกำรอำชีวศึกษำ พ.ศ. 2560 - 2579 สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาได้จัดทาแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 - 2579 ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 และแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) มีส าระส าคัญ ประกอบด้ว ย แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษา ค่านิยมอาชีวศึกษา วิสั ยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ตัวชี้วัด และการขับเคลื่อนแผนพัฒนา การอาชีวศึกษาสู่การปฏิบัติ ดังนี้ แนวคิดกำรจัดกำรอำชีวศึกษำ การจั ดการอาชีวศึ กษาเป็ นการจัดการศึ กษาในด้ านวิชาชี พ เพื่อผลิ ตและพั ฒนาก าลั งคนใน ระดับฝีมือ (ปวช.) ระดับเทคนิค (ปวส.) ระดับเทคโนโลยี (ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ) และการฝึ ก อบรมวิ ช าชี พ ซึ่ ง เป็ น การเพิ่ ม พู น ความรู้ แ ละทั ก ษะอาชี พ ระยะสั้ น และระยะยาว ที่มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับปรัชญาการอาชีวศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการ อาชีวศึกษาในแต่ระดับ ค่ำนิยมอำชีวศึกษำ ในการจัดการอาชีวศึกษามีค่านิยมที่เป็นเป้าหมายหลักในการปลูกฝังที่สาคัญ 4 ประการ ได้แก่ คุ ณ ธ รรม ( Merit) คุ ณ ภ าพ ( Quality) คว ามร่ ว มมื อ ( Collaboration) คว ามเป็ น มื อ อ า ชี พ (Professional) วิสัยทัศน์ “ผู้ ส าเร็ จ การอาชี ว ศึ ก ษาและฝึ ก อบรมวิ ช าชี พ มี คุ ณ ธรรม คุ ณภาพ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการในการพัฒนาประเทศ” พันธกิจ เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาบรรลุผลตามวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้ จึงมีภารกิจที่ต้องดาเนินการ ดังนี้ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพสอดคล้องกับความ ต้องการของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระให้มีคุณภาพได้มาตรฐานในระดับสากล

8

2. ขยายโอกาสการศึกษาวิชาชีพให้กับประชาชนทุกช่วงวัย 3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการอาชีวศึกษาภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยอาศัยเครือข่าย ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน 4. พั ฒ นางานวิ จั ย สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ นวั ต กรรม เทคโนโลยี และสร้ า งองค์ ค วามรู้ เ พื่ อ การจั ด อาชีวศึกษาและพัฒนาวิชาชีพ 5. พัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพด้วยวิธีที่หลากหลาย วัตถุประสงค์ แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 - 2579 ได้กาหนดวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการจัดการอาชีวศึกษา ดังนี้ 1. เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพให้มีคุณธรรม คุณภาพ และความเป็นมืออาชีพ 2. เพื่อเพิ่มโอกาสการศึกษาวิชาชีพกับประชาชนทุกช่วงวัย 3. เพื่อนาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา 4. เพื่อพัฒนางานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองค์ความรู้อาชีวศึกษา 5. เพื่อพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้ำหมำยด้ำนคุณภำพของผู้สำเร็จกำรศึกษำ การพัฒนาการอาชีว ศึกษาตามแผนพัฒนาการอาชีว ศึกษา พ.ศ. 2560 - 2579 มีเป้าหมาย เพื่อผลิต และพัฒนาผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษามีคุณภาพครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้ ำ นคุณ ลักษณ์ ที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม ลักษณะนิสัย และทักษะทางปัญญา ด้ำนสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ การพัฒนาการเรี ย นรู้ และการปฏิบั ติ งาน การทางานร่ว มกับผู้ อื่น การใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน ด้ ำ นสมรรถนะวิชำชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะในสาขา วิชาชีพสู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ ยุทธศำสตร์ เป้ำหมำย และตัวชี้วัด แผนพั ฒ นาการอาชี ว ศึ ก ษา พ.ศ. 2560 - 2579 ได้ ก าหนดยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นา การอาชีวศึกษาไว้ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศำสตร์ที่ 1 กำรจัดกำรอำชีวศึกษำเพื่อควำมมั่นคงของสังคมและประเทศชำติ เป้ำหมำย 1. ผู้เรียนอาชีวศึกษามีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการ เรี ย นรู้ ที่แสดงออกถึง ความจงรั กภั กดี และธ ารงรัก ษาไว้ซึ่ งสถาบันหลั ก ของชาติ และยึดมั่นในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ทุกคนผ่านการอบรม ลูกเสือ เนตรนารี การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริม หลักสูตรเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุ วัฒนธรรม และสร้างภูมิคุ้มกันหรือป้องปรามการทุจริต คอร์รัปชั่น

9

2. ผู้เรียนอาชีวศึกษามีความรู้และได้รับการดูแลป้องกันภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ มี ตั ว ชี้ วั ด ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ แ ละปลู ก ฝั ง แนวทางการจั ด การความขั ด แย้ ง โดยแนวทางสันติวิธีเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกัน ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ มี ร ะบบ กลไกและมาตรการที่ เข้ มแข็ งในการป้ องกั นและแก้ ไขภั ยคุ กคามรู ปแบบใหม่ สถานศึ ก ษา ปลอดยาเสพติด อบายมุข และเหตุทะเลาะวิวาท 3. ผู้ เรี ย นอาชีว ศึกษาเขตพัฒ นาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษและเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพมีตัวชี้วัด ที่สาคัญ ได้แก่ การพัฒนา หลักสูตรฐานสมรรถนะอาชีพที่สอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรม การจัดการ อาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ ที่ครอบคลุมคนทุกช่วงวัยสอดคล้องกับภูมิสังคม อัตลักษณ์ และความ ต้องการของชุมชน พัฒนาศักยภาพตามสมรรถนะอาชีพมีงานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ มีความ ร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการจัดการอาชีวศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพ มีระบบเงินเดือน ค่าตอบแทน พิเศษเพื่อสร้ างแรงจูงใจในการปฏิบั ติงาน ผู้สาเร็จการศึกษาในกลุ่ ม สาขาเป้าหมาย มีงานทาหลั ง จบการศึกษาและความพึงพอใจของภาคผู้ใช้ที่มีต่อสมรรถนะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ยุทธศำสตร์ที่ 2 กำรผลิตและพัฒนำกำลังคนด้ำนกำรอำชีวศึกษำเพื่อสร้ำงขีดควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขันของประเทศ เป้ำหมำย 1. ก าลั งคนอาชี ว ศึ ก ษามี ส มรรถนะตรงตามความต้ อ งการของตลาดแรงงานและ การพัฒนาประเทศ มีตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ มีฐานข้อมูลการผลิตและความต้องการกาลังคนอาชีวศึ กษา ผู้ เ รี ย นอาชี ว ศึ ก ษาเพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ผู้ เ รี ย นสามั ญ ศึ ก ษา ผู้ เ รี ย นอาชี ว ศึ ก ษาได้ รั บ เงิ น กู้ ยื ม เพื่อการศึกษา ผู้สาเร็จอาชีวศึกษามีส มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนา ประเทศ ความสามารถการใช้ ภ าษาอั ง กฤษของผู้ ส าเร็จ อาชี ว ศึ ก ษาตามมาตรฐานความสามารถ ทางภาษาอังกฤษ (CEFR) ผู้สาเร็จอาชีวศึกษาในสาขากลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายตรงตามข้อมูลความ ต้องการกาลังคน อัตราการมีงานทา การประกอบอาชีพอิส ระของผู้สาเร็จอาชีวศึกษาภายในระยะเวลา 1 ปี และผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพ 2. การผลิตและพัฒนากาลังคนด้านการอาชีวศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศ เฉพาะทาง มีตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะทาง มีหลักสู ตรฐานสมรรถนะ ในสาขาที่ ต รงกั บ ความต้ อ งการของตลาดแรงงานและการพั ฒ นาประเทศ จั ด การศึ ก ษาเน้ น ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัย จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ หรือสะเต็มศึกษา ใช้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่านการ ประเมิ น สมรรถนะตามมาตรฐานอาชี พ มี ภ าคี เ ครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ระหว่ า งรั ฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพที่จัดการอาชีวศึกษาร่วมกับสถานศึกษาเพื่อพัฒนากาลังคนตามความ ต้องการของตลาดแรงงาน 3. การวิ จั ย สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ นวั ต กรรม เทคโนโลยี และองค์ ค วามรู้ ด้ า นอาชี ว ศึ ก ษา เพื่อเพิ่มผลผลิตและมูลค่าทางเศรษฐกิจ ประเทศ มีตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ จานวนโครงการ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองค์ความรู้ที่นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนและสังคม

10

จานวนบุคลากรอาชีว ศึกษาด้านการวิจั ยและพัฒนา จานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ที่ได้รับการจด สิทธิบัตร และจานวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในระดับชาติหรือนานาชาติ ยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรพั ฒ นำศั ก ยภำพก ำลั ง คนด้ ำ นกำรอำชี ว ศึ ก ษำให้ มี ส มรรถนะ สอดคล้ อ งกั บ ควำมต้องกำรในกำรพัฒนำประเทศ เป้ำหมำย 1. ก าลั ง คนด้ า นการอาชี ว ศึ ก ษามี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ สมรรถนะหลั ก และ สมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศสู่ประเทศไทย 4.0 มีตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลัก และสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ และความพึงพอใจของภาคผู้ใช้ที่มีต่อผู้สาเร็จการศึกษา อาชีวศึกษา 2. ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาอาชี ว ศึ ก ษามี ศั ก ยภาพในการพั ฒ นาก า ลั ง คน ด้านอาชีวศึกษา มีตัวชี้วัด ที่สาคัญ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาที่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพระดับสูง และความพึง พอใจของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่มีต่อครูและบุคลากรทางการ ศึกษาอาชีวศึกษา 3. หลักสูตรอาชีวศึกษามีการพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างหลากหลายตามความต้องการในการ พัฒ นาประเทศ ตัว ชี้วัดที่ส าคัญ ได้แก่ หลั กสู ตรที่ได้รับการพัฒ นา จานวนผู้ ส าเร็จการศึ กษาตาม หลักสูตรที่ได้รับการพัฒนา และความพึงพอใจของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่มีต่อหลัก สูตรที่ได้รับ การพัฒนา 4. การพัฒนาความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพื่อเพิ่ มศักยภาพกาลังคนด้านอาชีวศึกษา ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และสมรรถนะวิชาชีพ สอดคล้องกับ ความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ สถานประกอบการที่ร่วมมือในการพัฒนา ศักยภาพกาลั งคนด้านอาชีว ศึกษา จ านวนโครงการความร่ว มมือทั้งในและต่างประเทศและความ พึงพอใจในการพัฒนาความร่วมมือ การพัฒนาศักยภาพกาลังคนด้านการอาชีวศึกษา ยุทธศำสตร์ที่ 4 กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเท่ำเทียมในด้ำนกำรอำชีวศึกษำ เป้ำหมำย 1. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ให้ผู้ เรียนทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่ และ ทุกระดับการศึกษา ได้รับบริการทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ สัดส่วนผู้เข้าเรียนระดั บประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) เทียบกับนักเรียนที่สาเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เข้าเรียนหลักสูตรทวิศึกษาเทียบกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เข้าเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 (ปวส.1) เทียบกับนักเรียนที่สาเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.3) และอัตราการเพิ่มขึ้นของผู้เรียนระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี หรื อ สายปฏิ บั ติ ก าร หลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมอาชี พ ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการ ของผู้เรียน ผู้เรียนที่มีความจาเป็นพิเศษที่ได้รับการศึกษาด้านอาชีวศึกษาหรือฝึกอบรมวิชาชีพหลักสูตร และรู ป แบบการจั ดการศึกษาอาชีว ศึกษาที่ยืดหยุ่ น หลากหลาย ทุกระดับการศึกษา ทั้งการศึกษา ในระบบนอกระบบ และอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน และมีระบบเครือข่าย

11

เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาที่ทันสมัยตอบสนองความต้องของผู้เรียนและผู้ใช้ อย่างทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพ 2. ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลของผู้ เรียนอาชีวศึกษาที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพื่อการ วางแผน การบริ ห าร จั ด การอาชี ว ศึ ก ษา การติ ด ตามและประเมิ น ผล ตั ว ชี้ วั ด ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ระบบฐานข้ อ มู ล รายบุ ค คลที่ อ้ า งอิ ง จากเลขประจ าตั ว ประชาชน 13 หลั ก ที่ ส ามารถเชื่ อ มโยง และแลกเปลี่ยนฐานข้อมูล รวมทั้งใช้ประโยชน์ร่ว มกันระหว่างสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และหน่ ว ยงานอื่ น ระบบสารสนเทศที่ ค รอบคลุ ม ถู ก ต้ อ ง และเป็ น ปั จ จุ บั น เพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ใ น การวางแผนการบริหารจัดการศึกษาอาชีวศึกษา การติดตามและประเมินผล ระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับ งานวิจั ย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองค์ ความรู้อาชีวศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สามารถให้ บ ริ การและใช้ป ระโยชน์ ร่ ว มกันระหว่างหน่ว ยงานอื่น ได้ และความพึง พอใจของบุ ค คล และหน่วยงานในการเข้าถึง และใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษา ยุทธศำสตร์ที่ 5 กำรจัดกำรอำชีวศึกษำเพื่อสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้ำหมำย 1. ผู้เ รีย นอาชีว ศึก ษา มีจิต ส านึก ทัศ นคติ ค่า นิย ม ในการพัฒ นาคุณ ภาพชีว ิต เป็น มิต รกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ จัดกิจกรรมเสริมหลักสู ตรที่ส ร้างจิตสานึก ทัศนคติ ค่ า นิ ย ม ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชีวิต เป็ นมิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ผู้ เ รี ย นอาชีว ศึก ษาที่ ไ ด้ รับ การปลู กฝั ง จิ ต ส านึ ก ทั ศ นคติ ค่ า นิ ย ม ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึกษาอาชีวศึกษาที่ ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม และสถานศึกษาที่ดาเนินการตามโครงการสถานศึกษาคุณธรรม 2. ผู ้เ รีย นอาชีว ศึก ษาสามารด ารงชีว ิต อย่า งมีค วามสุข ตามปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ตัวชี้วัด ที่สาคัญ ได้แก่ จานวนสถานศึกษาที่บริหารจัดการและจัดการการเรียนการสอนตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” ผู้เรียนอาชีวศึกษาที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต ครูและ บุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต 3. การวิจัย เพื่อ พัฒ นาองค์ค วามรู้แ ละนวัต กรรมด้า นการเสริม สร้า งคุณ ภาพชีวิต เป็น มิต รกับ สิ่ งแวดล้ อม ตัว ชี้วัดที่ส าคัญ ได้แก่ งานวิจัย สิ่ งประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและนาไปใช้ประโยชน์ หน่วยงานภายนอกที่ร่วมมือหรือสนับสนุน สถานศึกษาในการวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริม คุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 6 กำรเพิ่มประสิทธิภำพระบบกำรบริหำรจัดกำรอำชีวศึกษำ เป้ำหมำย 1. ระบบการบริ ห ารจั ดการอาชีว ศึ กษาที่มี ประสิ ทธิภ าพภายใต้ห ลั กธรรมาภิ บ าล ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ที่มีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาลสถานศึกษาที่บริหารจัดการมีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิ บาล และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการอาชีวศึกษา

12

2. นวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาที่สอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ ตัวชี้วัดที่สาคัญ ได้แก่ นวัตกรรมการบริหารจัดการอาชีวศึกษาที่สอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ และนวัตกรรมด้านการพัฒนาการเรียนการสอนอาชีวศึกษาที่สอดคล้องรองรับกับการพัฒนาประเทศ 3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา ตัวชี้วั ดที่สาคัญ ได้แก่ เครือข่ายความร่วมมือในการบริหารจัดการอาชีวศึกษา 4. พัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในการอาชีวศึก ษาทุกระดับการศึกษา ตัวชี้วัด ที่สาคัญ ได้แก่ สถานศึกษาที่มีผลการประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับคุณภาพดีมาก และสถานศึกษา ที่ได้รับการยกระดับคุณภาพให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน กำรขับเคลื่อนแผนพัฒนำกำรอำชีวศึกษำสู่กำรปฏิบัติ ความสาเร็จของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 - 2579 สู่การปฏิบัติขึ้นอยู่กับปัจจัย ส าคั ญ หลายประการ ได้ แก่ สาระส าคั ญของแผนพั ฒนาการอาชี วศึ กษาที่ มี ความชั ดเจน ครบถ้ วน และครอบคลุมการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒ นาตามแผนพัฒ นาการอาชีว ศึ ก ษาของผู้ เ กี่ย วข้ อ ง ทุกภาคส่ ว น ตั้งแต่ร ะดับ นโยบาย ระดับปฏิบัติผู้ มีส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย และสาธารณชน การเผยแพร่ การประชาสั ม พั น ธ์ เพื่ อ สร้ า งความ ตระหนั ก ความรู้ ความเข้ า ใจในความส าคั ญ ของแผนพัฒ นา การอาชีวศึกษา และการนาแผนพัฒนาการอาชีวศึกษาสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน แนวทำงกำรขับเคลื่อนแผนพัฒนำกำรอำชีวศึกษำสู่กำรปฏิบัติ มีดังนี้ 1. การสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึ งความสาคัญ และพร้อมเข้า ร่วมใน การผลักดันแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา การสร้างความเข้าใจกับหน่ วยงาน องค์การ และภาคีเครือข่าย ในการจัดการอาชีวศึกษาเกี่ยวกับวิสัยทัศน์และเป้าหมายของแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา 2. การสร้ า งความเชื่ อ มโยงระหว่ า งแผนพั ฒ นาการอาชี ว ศึ ก ษา พ.ศ. 2560 - 2579 กั บ แผนปฏิ บั ติ ร าชการประจ าปี ง บประมาณของส านั ก งานคณะกรรมกา รการอาชี ว ศึ ก ษา และแผนปฏิ บั ติ ก ารประจ าปี ง บประมาณของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด ส านั ก งานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา 3. การปรับปรุง กฎ ระเบียบและกฎหมายต่าง ๆ ให้เอื้อต่อแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา 4. การสร้างช่องทางให้ภาคีเครื อข่ายในการจัด การอาชีวศึกษามีส่วนร่วมในการจัด การศึ กษา อย่ า งกว้ า งขวาง ทั้ ง ระดั บ นโยบาย และระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารการติ ด ตามประเมิ น ผลแผนพั ฒ นา การอาชีวศึกษา แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผล แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา เป็นการติดตาม ประเมินผลที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการ อาชีวศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน ทั้งการประเมินกระบวนการจัดการผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ โดยสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเมินการดาเนินงานของสถานศึกษาเองควบคู่ ไปกับการประเมิน ของหน่ วยงานภายในส านั กงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีการกาหนดหลั กเกณฑ์การติดตาม และประเมินผลตัวชี้วัดที่ชัดเจนมีมาตรฐาน และถูกต้องตามหลักวิชา

13

มำตรฐำนกำรอำชีวศึกษำ พ.ศ. 2561 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 เนื่ อ งด้ ว ยมี ก ารออกกฎกระทรวงการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา พ.ศ. 2561 โดยยกเลิ ก กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 จึงสมควร ปรับปรุงมาตรฐาน การอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง และมาตรฐาน การอาชีวศึกษา สาหรับการฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้น ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ที่กาหนดว่า “ให้สถานศึกษาแต่ละแห่ง จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้” อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 17 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ตามมติในคราว ประชุ ม ครั้ ง ที่ 2/2561 เมื่ อ วั น ที่ 24 เมษายน 2561 จึ ง ให้ ย กเลิ ก ประกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง พ.ศ. 2559 ลงวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2559 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้ มาตรฐานการอาชี ว ศึ ก ษา ส าหรั บ การฝึ ก อบรมวิ ช าชี พ ระยะสั้ น พ.ศ. 2560 ลงวั น ที่ 7 กั น ยายน พ.ศ. 2560 และให้ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อ ง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ในการ จัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชีพ ระดับ ประกาศนี ย บั ตรวิช าชี พชั้ น สู ง และการฝึ ก อบรมวิช าชี พ ดั งต่อไปนี้ คื อ มาตรฐานการอาชีว ศึ ก ษา ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 4 ประเด็นการประเมิน ดังนี้ มำตรฐำนที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จกำรศึกษำอำชีวศึกษำที่พึงประสงค์ การจัดการอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ 1.1 ด้ำนควำมรู้ ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎี และหรือข้อเท็จจริง เป็นไป ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา 1.2 ด้ำนทักษะและกำรประยุกต์ใช้ ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิต เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะ ที่ดี 1.3 ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภู มิ ใ จและรั ก ษาเอกลั ก ษณ์ ข องชาติไ ทย เคารพกฎหมาย เคารพสิ ท ธิ ข องผู้ อื่ น มี ค วามรั บ ผิ ดชอบ

14

ตามบทบาท หน้ า ที่ ข องตนเองตามระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ น ประ มุ ข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มำตรฐำนที่ 2 กำรจัดกำรอำชีวศึกษำ สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่าง มีประสิทธิภาพ มีความสาเร็จในการดาเนินการตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน ที่กากับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ 2.1 ด้ำนหลักสูตรอำชีวศึกษำ สถานศึ ก ษาใช้ ห ลั ก สู ต รฐานสมรรถนะที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของผู้ เ รี ย น ชุ ม ชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชา เพิ่มเติม ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือ กับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2 ด้ำนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนอำชีวศึกษำ สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนด ได้รับการพัฒนาอย่าง เป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จั ดการเรี ย นการสอนที่ เน้ น ผู้ เรี ย นเป็ น ส าคั ญ ตอบสนองความต้ องการของผู้ เรีย นทั้งวั ยเรีย นและ วัยทางาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับ เกี่ยวกับการจัด การศึกษาและการประเมิ นผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน การสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ 2.3 ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร สถานศึ ก ษาบริ ห ารจั ด การบุ ค ลากร สภาพแวดล้ อ ม ภู มิ ทั ศ น์ อาคารสถานที่ ห้ อ งเรี ย น ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร โรงฝึ ก งาน ศู น ย์ วิ ท ยบริ ก าร สื่ อ แหล่ ง เรี ย นรู้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ครุ ภั ณ ฑ์ และงบประมาณ ของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ 2.4 ด้ำนกำรนำนโยบำยสู่กำรปฏิบัติ สถานศึกษามีความสาเร็จ ในการดาเนินการบริห ารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายส าคัญ ที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ กากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มำตรฐำนที่ 3 กำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสั งคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้

15

3.1 ด้ำนควำมร่วมมือในกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ สถานศึ ก ษามี ก ารสร้ า งความร่ ว มมื อ กั บ บุ ค คล ชุ ม ชน องค์ ก รต่ า ง ๆ ทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศในการจั ดการศึกษา การจั ดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการ ทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่ง การเรียนรู้ 3.2 ด้ำนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งำนสร้ำงสรรค์ งำนวิจัย สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพร่สู่สาธารณชน

16

ส่วนที่ 2 ข้อมูลพี้นฐำน ประวัติ ควำมเป็นมำของสถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 กาหนดให้สถานศึกษาอาชีวศึกษา สามารถรวมกันเป็นสถาบันได้ การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจั ดตั้งเป็นสถาบันการอาชีว ศึกษา ให้ ก ระท าได้ โ ดยค าแนะน าของคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษาค าแนะน าของคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา และคานึงถึงการประสานความร่วมมือให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้ทรั พยากรร่วมกัน ทั้ ง นี้ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง” ต่ อ มาคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา (กอศ.) (ศ.ดร.ธีวุฒิ บุณยโสภร ประธานคณะกรรมการ)ได้ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง กาหนด หลักเกณฑ์การรวมและการแยกสถานศึกษาเพื่อจัดตั้ง เป็นสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ.2554 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2555 ตามมาตรา 13 โดยมีหลักการสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความเป็นเลิศในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ โดยมีกระบวนการผลิต และพัฒ นากาลั งคนเพื่อเพิ่มผลผลิ ตและส่ ง เสริมการพัฒ นาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ให้ได้รับมาตรฐานสากล 2. การกระจายอานาจไปสู่ระดับปฏิบัติ เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ในทุกระดับ มีคุณภาพและประสิทธิภาพเกิดผลสาเร็จแก่ประชาชน โดยเฉพาะนักเรียนและนักศึกษา 3. ตอบสนองความต้องการการผลิตและการพัฒ นากาลังคนด้านวิชาชีพ ระดับฝีมือระดับ เทคนิค ระดับ เทคโนโลยี และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน 4. การประสานความร่วมมือให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีชั้นสู งจาก ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน ในการพัฒนาศักยภาพของการจัดการอาชีวศึกษา 5. การประกันคุณภาพและการกากับมาตรฐาน ตามมาตรฐานวิชาชีพในระดับสากล จากประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษาดังกล่าว สานัก งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงได้ทาการประเมินสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อเข้าร่วมจัดตั้งเป็นสถาบันการอาชีวศึกษา มาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 จนสามารถเสนอร่างกฎกระทรวงการร่วมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา พ.ศ.2554 ผ่านคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๕ (สมัยนายวรวัจจน์ เอื้อภิญญกุล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ)ตามที่ได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 6 มีนาคม 2551 ซึ่งเป็นวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเ บกษาเป็นต้นไป กาหนดให้ มีการรวมสถานศึก ษาอาชีว ศึ ก ษาเพื่ อจัด ตั้ง เป็นสถาบัน การอาชีว ศึ ก ษา โดยคาแนะน า ของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงให้สถาบันการอาชีวศึกษาเป็นนิติบุคคล และเป็ น ส่ ว นราชการในส านั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา ต่ อ มารั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ อ อกกฎกระทรวงการรวมสถานศึ ก ษาอาชี ว ศึ ก ษาเพื่ อ จั ด ตั้ ง สถาบั น การอาชีวศึกษา พ.ศ.2555 ให้รวมสถานศึกษาจัดตั้งเป็น สถาบันการอาชีวศึกษา จานวน 19 สถาบัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 มิถุนายน 2555

17

ตามกฎกระทรวง การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ ง และมาตรา 13 วรรคสอง แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ การอาชี ว ศึ ก ษา พ.ศ.2551 อั น เป็ น กฎหมายที่ มี บ ทบั ญ ญั ติ บ างประการเกี่ ย วกั บ การจ ากั ด สิ ท ธิ และเสรี ภ าพของบุ ค คลซึ่ ง มาตรา 29 ประกอบกั บ มาตรา 32 และมาตร 43 ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย บั ญ ญั ติ ใ ห้ ก ระท าได้ โ ดยอาศั ย อ านาจตามบทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาออกกฎกระทรวง ไว้ดังต่อไปนี้ คือ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ประกอบด้วย วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี วิทยาลัย อาชีวศึกษาลพบุรี วิทยาลั ยเทคนิคสิงห์บุรี วิทยาลัยเทคนิค ชัยนาท วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี แห่งที่ 2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี และวิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง วัตถุประสงค์ ตามมาตรา 16 แห่ งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ได้กาหนดให้ ส ถาบันการ อาชีวศึกษาเป็ นสถาบัน อุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค์ให้ การศึกษา ส่งเสริม วิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่ชานาญการปฏิบัติการสอน การวิจัยการถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยี ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้บริการวิชาการ และวิชาชีพแก่ สังคม ภำรกิจหลักของสถำบันกำรอำชีวศึกษำ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 และมิติที่ ประชุ ม สภาสถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษาภาคกลาง 2 ในการประชุ ม ครั้ ง ที่ 3/2556 เมื่ อ วั น ที่ 15 สิงหาคม 2556 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีภารกิจ เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่ชานาญการปฏิบัติการสอน การวิจัย การถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยี ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้บริการและวิชาชีพแก่สังคม โดยมีอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ (ก) จั ด การศึ ก ษาและการฝึ ก อบรมวิ ช าชี พ เพื่ อ ผลิ ต และพั ฒ นาก าลั ง คนในด้ า นวิ ช าชี พ ระดับฝีมือ ระดับเทคนิ ค ระดับปริญญาสายเทคโนโลยีห รือสายปฏิบัติการ รวมทั้งส่งเสริมวิช าการ และวิชาชีพชั้นสูงมีความชานาญในการสอน (ข) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยพัฒนามาตรฐานการอาชีวศึกษา การถ่ายทอดวิทยาการ และเทคโนโลยี การทะนุบารงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ให้บริการวิชาการ และวิชาชีพแก่สังคม (ค) จั ด ท าข้ อ เสนอแนะ แนวนโยบาย แผนพั ฒ นาสถาบั น ให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐาน การอาชีวศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ และหลักสูตรอาชีวศึกษาของสถาบัน (ง) ส่ งเสริ ม ประสานความร่ ว มมือระหว่างสถานศึกษาอาชีว ศึกษาหรือสถาบันการศึ ก ษา อาชีวศึกษาเอกชน สถานประกอบการ ภาคเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐในการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายของ สถาบั น เพื่ อ ประโยชน์ ท างวิ ช าการ การวิ จั ย พั ฒ นาการอาชี ว ศึ ก ษาและการจั ด การอาชี ว ศึ ก ษา และการฝึกอบรมวิชาชีพ

18

(จ) ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การเสนอจั ด ตั้ ง งบประมาณ การจั ด หารายได้ การบริ หารงาน งบประมาณการเงินและทรัพย์สินของสถาบัน (ฉ) ดาเนินการเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพมาตรฐานการอาชีวศึกษา การติดตามตรวจสอบ การประเมิน ผลการบริ ห ารจั ดการของสถาบันให้ ส อดคล้ องกั บนโยบาย แผนพัฒ นาและมาตรฐาน การอาชีวศึกษา (ช) ดาเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานุการสภาสถาบันและดาเนินการตามที่สภาสถาบันมอบหมาย (ซ) ปฏิบั ติงานอื่น ใดตามที่กฎหมายกาหนดให้ เป็นอานาจหน้าที่และความรับผิ ดขอบของ สภาสถาบันหรือตามที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามอบหมาย ข้อ 2 ให้จัดตั้งส่วนราชการในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 สานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ดังต่อไปนี้ (1) สานักงานผู้อานวยการสถาบัน (2) สานักพัฒนายุทธศาสตร์และความร่วมมืออาชีวศึกษา (3) สานักพัฒนากิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ (4) ศูนย์วิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา (5) อาชีวศึกษาบัณฑิต (6) วิทยาลัยเทคนิคชัยนาท (7) วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี (8) วิทยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี (9) วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี (10) วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี แห่งที่ 2 (11) วิทยาลัยลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี (12) วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง ข้อมูลพื้นฐำนสถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 สถานที่ตั้งของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2

สานักงานสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ตั้ ง อยู่ ณ วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ลพบุ รี เลขที่ 323 ถนนนารายณ์ ม หาราช ต าบลทะเลชุ บ ศร อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000 โทรศัพท์ 0 3642 5113 เว็บไซต์ http://www.ivecr2.ac.th

19

ปรัญชำ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ สัญลักษณ์ ธงและสีประจำสถำบันฯ ต้นไม้ประจำสถำบันฯ ปรัญชำ : ทักษะเด่น เน้นคุณธรรม นาเทคโนโลยีสู่สากล อัตลักษณ์ : ทักษะเยี่ยม เปี่ยมคุณธรรม เอกลักษณ์ : วิชาชีพล้าเลิศ เชิดชูคุณธรรม สัญลักษณ์สถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 ตราสัญลักษณ์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ประกอบด้วยดวงตราเสมาธรรมจักร มีตัวย่อ คาบาลีว่า ท.ส.นิ.ม. พื้นสีเลือดหมู ใต้วงกลมมีแถบโค้งรองรับภายในบรรจุอักษรสีเลือดหมู ชื่อ สถาบัน การอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 และภาษาอังกฤษชื่อ Institute of Vocational Education Central Region 2 บนพื้น สีขาว ขอบสีเลือดหมู ดังปรากฎตามภาพ

ดอกไม้ประจำสถำบัน ดอกอิ น ทนิ ล เป็ น ไม้ ที่ ท นต่ อ สภาพแวดล้ อ มและเจริ ญ เติ บ โต ในทุกสภาวะทุกภาคของประเทศไทย เป็นพันธ์ไม้ลักษณะที่ดี หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง อายุยาวนาน เปรียบเสมือนสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคกลาง 2 เจริญเติบโตได้จากสภาพแวดล้อมต่าง ๆ มีการพัฒนาขึ้น เป็นลาดับจนแข็งแกร่ง และจะยืนหยัดอยู่อย่างเข้มแข็งต่อไป สีประจำสถำบัน สีขำว เป็นสัญลักษณ์ของความสว่าง บริสุทธิ์ อันหมายถึง ความมีจิตอาสา ใฝ่รู้ สู่ ก ารพั ฒ นา ซึ่ งเป็ น ลั ก ษณะของบั ณ ฑิ ต ของสถาบั น ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสังคม สีม่วงเม็ดมะปรำง หมายถึง การดูแล มีพลังอานาจ และอดทน แสดงถึง นักศึกษา ของสถาบันที่มีทั้งความรู้และพลังในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ

20

ข้อมูลที่ตั้งของสถำนศึกษำในสังกัดสถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 1. ชื่อสถำนศึกษำ วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี ชื่อภำษำอังกฤษ Lopburi Technical College ที่ตั้งสถำนศึกษำ เลขที่ 323 ถนนนารายณ์มหาราช ตาบลทะเลชุบศร อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี15000 โทรศัพท์ 0-3641-1083 โทรสำร 0-3641-1666 เว็บไซต์วิทยำลัย www.lbtech.ac.th 2. ชื่อสถำนศึกษำ วิทยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี ชื่อภำษำอังกฤษ Lopburi Vocational College ที่ตั้งสถำนศึกษำ เลขที่ 139 หมู่ที่ 6 ถนนสระแก้ว-ป่าหวาย ตาบลป่าตาล อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000 โทรศัพท์ 0-3662-6242 โทรสำร 0-3642-1245 เว็บไซต์ http://www.lbvoc.ac.th 3. ชื่อสถำนศึกษำ วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี ชื่อภำษำอังกฤษ Singburi Technical College ที่ตั้งสถำนศึกษำ เลขที่ 4 ถนนวิไลจิตต์ ตาบลบางพุทรา อาเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 10600 โทรศัพท์ 036-511232 , 036-511916 โทรสำร 036-511487 เว็บไซต์ http://www.sbtc.ac.th 4. ชื่อสถำนศึกษำ วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรีแห่งที่ 2 ชื่อภำษำอังกฤษ Singburi Technical College 2 ที่ตั้งสถำนศึกษำ เลขที่ 49 หมู่ที่ 1 ตาบลโพประจักษ์ อาเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี 16140 โทรศัพท์ 036-579456 โทรสำร 036-579515 เว็บไซต์ www.ssing2.ac.th 5. ชื่อสถำนศึกษำ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี ชื่อภำษำอังกฤษ Singburi Vocational College ที่ตั้งสถำนศึกษำ เลขที่ 643 ถนนนายจันหนวดเขี้ยว ตาบลบางพุทรา อาเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 16000 โทรศัพท์ 036-512515 โทรสำร 036-511244 เว็บไซต์ www.singburivc.ac.th

21

6. ชื่อสถำนศึกษำ วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง ชื่อภำษำอังกฤษ Angthong Technincal College ที่ตั้งสถำนศึกษำ เลขที่ 2 หมู่ที่ ถนนเทศบาล 10 ตาบลตลาดหลวง อาเภอเมืองง จังหวัดอ่างทอง 14000 โทรศัพท์ 035-611656 โทรสำร035-625158 เว็บไซต์ http://www.attc.ac.th 7. ชื่อสถำนศึกษำ วิทยาลัยเทคนิคชัยนาท ชื่อภำษำอังกฤษ Chainat Technical College ที่ตั้งสถำนศึกษำ เลขที่ 336 ถนนพหลโยธิน ตาบลบ้านกล้วย อาเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000 โทรศัพท์ 05-6411-276 โทรสำร05-6411-847 เว็บไซต์ www.chainat.ac.th เนื้อที่สถานศึกษา 30 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา

22

ส่วนที่ 3 กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อม (SWOT Analysis) กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อม (SWOT Analysis) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 มีการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมภายในและปัจจัยภายนอก สถาบั น ฯ โดยก าหนดจุ ด แข็ ง ( Strengths) จุ ด อ่ อ น (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Theats) ดังนี้ จุดแข็ง (Strengths) 1. สถาบันฯ มีการพัฒนาหลักสูตรที่สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน 2. ครูและบุคลากรมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และเชี่ยวชาญสอดคล้องกับหลักสูตรการจัดการ เรียนการสอน 3. วิทยาลัยในสังกัดสถาบันฯ มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษา และพื้นที่ใช้สอยอื่น ๆ พร้อมสาหรับจัดการเรียนการสอน 4. สถาบันฯ ได้รับการร่วมมือจากสถานประกอบการในการให้นักศึกษาเข้าไปฝึ กประสบการณ์ เพื่อให้เกิดทักษะในการประกอบอาชีพ จุดอ่อน (Weaknesses) 1. ขาดแคลนครูผู้สอนในบางสาขาทาให้ไม่สามารถจัดการเรียนในสาขานั้นได้ 2. ครู นักศึกษา ขาดแรงจูงใจในการทาวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และการพัฒนาผลงานวิชาการ 3. สถาบันฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ โอกำส (Opportunities) 1. นโยบายรั ฐ บาลสนั บ สนุ น การเรี ย นประเภทอาชี ว ศึ ก ษา เพื่ อ ผลิ ต และพั ฒ นาก าลั ง คนเข้ า สู่ ตลาดแรงงาน 2. องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และสถานประกอบการ ให้ความร่วมมือในการผลิตและพัฒนากาลังคน 3. มีความต้องการของตลาดแรงงานด้านช่างเทคนิค ช่างฝีมือ จานวนมาก อุปสรรค (Threats) 1. นักศึกษาที่จบการศึกษาระดับ ปวส. ตัดสินใจเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษาอื่น 2. นักศึกษาที่เข้าศึกษาต่อในสถาบันฯ ขาดความรู้พื้นฐาน ทักษะ 3. ขาดการกระจายอานาจจากส่วนกลาง 4. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทาให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

23

ส่วนที่ 4 แผนยุทธศำสตร์สถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 -2569) วิสัยทัศน์ สถาบั น การอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ผลิ ตและพัฒ นากาลังคนสายอาชีพและเทคโนโลยีที่มี คุณภาพตามมาตรฐานสากล ปรัญชำ : ทักษะเด่น เน้นคุณธรรม นาเทคโนโลยีสู่สากล อัตลักษณ์ : ทักษะเยี่ยม เปี่ยมคุณธรรม เอกลักษณ์ : วิชาชีพล้าเลิศ เชิดชูคุณธรรม พันธกิจ 1. ผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพที่ได้มาตรฐาน 2. จัดการอาชีวศึกษาและส่งเสริมการอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 3. ส่งเสริม พัฒนาครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการอาชีวศึกษา 5. ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย สร้างนวัตกรรม พัฒนาองค์ความรู้เพื่อพัฒนาอาชีพ 6. การบริหารจัดการอาชีวศึกษาอย่างมีคุณภาพ ประเด็นยุทธศำสตร์ 1. ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพและสมรรถนะของผู้เรียนสายวิชาชีพ 2. ผลิ ตและพัฒ นากาลั ง คนด้านวิช าชี พ ให้ ส อดคล้ องกั บความต้ อ งการของตลาดแรงงงานและ การพัฒนาประเทศ 3. ยกระดับ ศักยภาพ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ในการจัดการเรีย นรู้และพัฒ นา หลักสูตร 4. สร้างเครือข่ายและความร่วมมือผลิตและพัฒนากาลังคน 5. สร้างโอกาสทางการศึกษาเทคโนโลยี การวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 6. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพและสมรรถนะของผู้เรียนสายวิชาชีพ เป้ำประสงค์ ผู้เรียนมีความพร้อมในการเข้าสู่ตลาดแรงงานและสังคม กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีจิตสานึก ทัศนคติ ค่านิยม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจิตสาธารณะ

24

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงงานและการพัฒนาประเทศ เป้ำประสงค์ ผู้เรียนมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาสมรรถนะทักษะผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมสนับสนุนความเป็นเลิศเฉพาะด้านของผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับศักยภาพ ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ในการจัดการ เรียนรู้และพัฒนาหลักสูตร เป้ำประสงค์ ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรมและจริยธรรมและ มีความศรัทธาในวิชาชีพ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน สร้างขวัญการใจครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาในการ ปฏิบัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือผลิตและพัฒนากาลังคน เป้ำประสงค์ มีเครือข่ายและความร่วมมือที่มีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 1 สร้างเครือข่ายความร่วมมือในภาคเอกชนทุกระดับ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบเครือข่ายและความร่วมมือ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาเทคโนโลยี การวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ เป้ำประสงค์ งานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ที่มีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนางานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนผลงานที่ใช้ประโยชน์และพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุนการขอรับทุนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เป้ำประสงค์ การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 สร้างค่านิยมการเรียนอาชีวศึกษาและการปรับภาพลักษณ์

25

26

เป้ำประสงค์

ยุทธศำสตร์ที่ 1 ผู้เรียนมีความพร้อมในการเข้า ส่ ง เ ส ริ ม กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า สูต่ ลาดแรงงานและสังคม คุ ณ ภาพและสมรรถนะของ ผู้เรียนสายวิชาชีพ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี จิตสานึก ทัศนคติ ค่านิยม ใน การพัฒนาคุณภาพชีวิต 2. ส่งเสริมการเรียนรูต้ าม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจิต สาธารณะ ผูเ้ รียนมีความ พร้อมในการเข้าสู่ ตลาดแรงงานและสังคม

ประเด็นยุทธศำสตร์/กลยุทธ์ 1. ร้อยละของผู้เรียนทุกสาขา/ ทุกชั้นปี เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม 2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงไปปฏิบัติ 3. จานวนโครงการส่งเสริมให้ ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจิตสาธารณะ 4. ระดับความพึงพอใจต่อ คุณภาพบัณฑิตด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์

ตัวชี้วัด

เป้ำหมำยตัวชี้วัด โครงกำร/กิจกรรม 2565 2566 2567 2568 2569 100 100 100 100 100 1. โครงการพัฒนาทักษะชีวิตโดยใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. โครงการส่งเสริมและอนุรักษ์ มาก มาก มาก มาก มาก ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญ ั ญาท้องถิ่น ที่สุด ที่สุด ที่สุด ที่สุด ที่สุด และสิ่งแวดล้อม 3. โครงการส่งเสริมประสบการณ์ 5 5 5 5 5 วิชาชีพ ปลูกจิตอาสาและบริการ สังคม 4. โครงการกิจกรรมเพื่อเทิดทูน มาก มาก มาก มาก มาก สถาบัน ชาติ ศาสนา ที่สุด ที่สุด ที่สุด ที่สุด ที่สุด พระมหากษัตริย์ 5. โครงการสถานศึกษาปลอดยา เสพติดและอบายมุข 6. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยี หรือสายปฏิบัติการ ประจาปี การศึกษา 7. โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษา ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยี หรือสายปฏิบัติการ ประจาปี การศึกษา

โครงกำรที่สนับสนุนยุทธศำสตร์ของสำถบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 พ.ศ.2565 - 2569

ผู้เรียนมีสมรรถนะตรงตาม ความต้องการของ ตลาดแรงงานและการพัฒนา ประเทศ

ยุทธศำสตร์ที่ 2 ผลิตและพัฒนากาลังคนด้าน วิชาชีพให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงงาน และการพัฒนาประเทศ

กลยุทธ์ 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ วิชาชีพและทักษะชีวิตในยุค ดิจิทัล 2. ส่งเสริมสนับสนุนความเป็น เลิศเฉพาะด้านของผู้เรียน 3. ยกระดับคุณภาพผู้เรียน และผูส้ าเร็จการศึกษาตาม มาตรฐานวิชาชีพ

เป้ำประสงค์

ประเด็นยุทธศำสตร์/กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

เป้ำหมำยตัวชี้วัด โครงกำร/กิจกรรม 2565 2566 2567 2568 2569 1. ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่าน 100 100 100 100 100 1. โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ วิชาชีพ วิชาชีพ 2. ระดับความพึงพอใจด้าน มาก มาก มาก มาก มาก 2. โครงการผลิตนักศึกษาให้มีความ คุณภาพของบัณฑิตของสถาน เป็นเลิศด้านวิชาการและวิชาชีพ ประกอบการ ตอบสนองความต้องการของสถาน 3. ร้อยละของนักศึกษาที่สอบ 80 80 80 85 85 ประกอบการ ผ่านทักษะด้านภาษาอังกฤษ 3. โครงการยกระดับความสามารถ 4. จานวนโครงการที่ส่งเสริม 5 5 5 5 5 ด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียนเพื่อ สนับสนุนพัฒนา ความรู้ ทักษะ การประกอบอาชีพ ความสามารถของผู้เรียน 4. โครงการพัฒนาความรู้ ทักษะ 5. ร้อยละของผูส้ าเร็จ 100 100 100 100 100 ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ การศึกษาที่เป็นกาลังคนเข้าสู่ ผู้เรียน ตลาดแรงงาน 5. โครงการศึกษาความพึงพอใจ ของสถานประกอบการต่อผูส้ าเร็จ การศึกษา

โครงกำรที่สนับสนุนยุทธศำสตร์ของสำถบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 พ.ศ.2565 - 2569 (ต่อ)

27

เป้ำประสงค์

กลยุทธ์ 1. พัฒนาครู อาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษาให้มี ศักยภาพตามมาตรฐาน วิชาชีพ 2. พัฒนาครู อาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษาให้มี คุณธรรมและจริยธรรมและมี ความศรัทธาในวิชาชีพ 3. พัฒนาหลักสูตรและ กระบวนการจัดการเรียนการ สอน 4. ส่งเสริม สนับสนุน สร้าง ขวัญการใจครู อาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษาในการ ปฏิบัติงาน

ยุทธศำสตร์ที่ 3 ครู อาจารย์และบุคลากร ยกระดับศักยภาพ ครู ทางการศึกษา มีสมรรถนะ อาจารย์และบุคลากรทางการ ตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ศึกษา ในการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาหลักสูตร

ประเด็นยุทธศำสตร์/กลยุทธ์ 1. ร้อยละของครู อาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับ การอบรม/พัฒนา 2. จานวนโครงการที่ส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาความสามารถ ของครู อาจารย์และบุคลากร ทางการศึกษา 3. จานวนหลักสูตรทีร่ องรับ ความต้องการในอนาคต 4. ร้อยละของครู อาจารย์ที่มี วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ขึ้นไป

ตัวชี้วัด

เป้ำหมำยตัวชี้วัด โครงกำร/กิจกรรม 2565 2566 2567 2568 2569 60 60 65 65 70 1. โครงการยกระดับความสามารถ ด้านภาษาอังกฤษของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 3 3 5 5 5 2. โครงการพัฒนาครูอาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษาด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. โครงการพัฒนาครู อาจารย์ 1 1 2 2 2 ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และ ปริญญาเอก 30 30 40 40 40 4. โครงการพัฒนาหลักสูตรใหม่ที่ รองรับความต้องการในอนาคต 5. โครงการพัฒนาสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานของครู อาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษา

โครงกำรที่สนับสนุนยุทธศำสตร์ของสำถบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 พ.ศ.2565 - 2569 (ต่อ)

28

29

เป้ำประสงค์

ตัวชี้วัด

มีเครือข่ายและความร่วมมือที่ 1. จานวนหน่วยงานและสถาน มีคุณภาพ ประกอบการทีล่ งนามความ ร่วมมือ 2. ร้อยละครูฝึกในสถาน ประกอบการทีไ่ ด้รับการอบรม กลยุทธ์ และแต่งตั้ง 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ 3. จานวนโครงการที่ส่งเสริม กับภาครัฐและภาคเอกชนทุก สนับสนุนการสร้างเครือข่าย ระดับ ความร่วมมือ 2. พัฒนาระบบเครือข่ายและ ความร่วมมือ

ยุทธศำสตร์ที่ 4 สร้างเครือข่ายและความ ร่วมมือผลิตและพัฒนา กาลังคน

ประเด็นยุทธศำสตร์/กลยุทธ์

เป้ำหมำยตัวชี้วัด โครงกำร/กิจกรรม 2565 2566 2567 2568 2569 20 20 30 30 30 1. โครงการจัดทา MOU ร่วมกับ ภาครัฐและภาคเอกชน 2. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการ 100 100 100 100 100 จัดอาชีวศึกษารูปแบบทวิภาคี 3. โครงการพัฒนาอาชีพสู่การเป็น ผู้ประกอบการ 5 5 5 5 5 4. โครงการพัฒนาครู อาจารย์ เข้า รับการฝึกวิชาชีพเพิ่มเติมในสถาน ประกอบการ

โครงกำรที่สนับสนุนยุทธศำสตร์ของสำถบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 พ.ศ.2565 - 2569 (ต่อ)

30

กลยุทธ์ 1. พัฒนางานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 2. ประสานความร่วมมือกับ ภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และ สังคมในการสร้างงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 3. ส่งเสริม สนับสนุน การนา ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน และสังคม 4. ส่งเสริม สนับสนุนการ ขอรับทุนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์

ยุทธศำสตร์ที่ 5 พัฒนาเทคโนโลยี การวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์

ประเด็นยุทธศำสตร์/กลยุทธ์ งานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ที่มีคณ ุ ภาพ

เป้ำประสงค์

ตัวชี้วัด

เป้ำหมำยตัวชี้วดั โครงกำร/กิจกรรม 2565 2566 2567 2568 2569 1. ร้อยละของครู อาจารย์ ที่ 100 100 100 100 100 1. โครงการยกระดับด้านการวิจยั สามารถจัดทางานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ของครู นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ อาจารย์ 2. ร้อยละงานวิจัย นวัตกรรม 30 30 40 40 40 2. โครงการประกวดผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ ของครูอาจารย์ที่ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ได้รับการเผยแพร่ 3. โครงการให้ทุนสนับสนุนการวิจยั 3. ร้อยละของผู้เรียนปีสุดท้าย 100 100 100 100 100 นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ สามารถจัดทาโครงการ 4. โครงการเข้าร่วมการประชุม งานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิชาการ นวัตกรรม และเทคโนโลยี 4. ร้อยละงานวิจัย นวัตกรรม 30 30 40 40 40 ทางการศึกษาระดับชาติ สิ่งประดิษฐ์ ของผู้เรียนที่ได้รับ 5. โครงการส่งเสริมการจัดทา การเผยแพร่ งานวิจัยและการเขียนบทความวิจยั 5. จานวนโครงการที่พัฒนา 5 5 5 5 5 เทคโนโลยี งานวิจัย นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์

โครงกำรที่สนับสนุนยุทธศำสตร์ของสำถบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 พ.ศ.2565 - 2569 (ต่อ)

31

การบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพตามหลักธรร มาภิบาล

ยุทธศำสตร์ที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการ

กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการ 3. สร้างค่านิยมการเรียน อาชีวศึกษาและการปรับ ภาพลักษณ์

เป้ำประสงค์

ประเด็นยุทธศำสตร์/กลยุทธ์

ตัวชี้วัด

เป้ำหมำยตัวชี้วัด โครงกำร/กิจกรรม 2565 2566 2567 2568 2569 1. ระดับความพึงพอใจของ มาก มาก มาก มาก มาก 1. โครงการพัฒนาระบบบริหาร บุคลากรต่อระบบบริหาร ที่สุด ที่สุด ที่สุด จัดการตามหลักธรรมธิบาล จัดการ 2. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ 2. ระดับความพึงพอใจของ มาก มาก มาก มาก มาก เพือ่ การบริหารจัดการ บุคลากรต่อระบบสารสนเทศใน ที่สุด ที่สุด ที่สุด 3. โครงการส่งเสริมการและพัฒนา การบริหารจัดการ รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ 3. ระดับความพึงพอใจที่มีต่อ มาก มาก มาก มาก มาก นวัตกรรมและเทคโนโลยี การปฏิบัติงานพัฒนาอาคาร ที่สุด ที่สุด ที่สุด 4. โครงการพัฒนาอาคาร สถานที่ สถานที่ ห้องเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการ 5. โครงการอบรมให้ความเข้าใจใน 4. ร้อยละของครู อาจารย์และ 100 100 100 100 100 เรื่องการประกันคุณภาพ บุคลากรทางการศึกษามีความ 6. โครงการเตรียมการพิธีรับ เข้าใจในเรื่องการประกัน พระราชทานปริญญาบัตร ประจาปี คุณภาพ การศึกษา 6. ร้อยละของผูส้ าเร็จ 100 100 100 100 100 7. โครงการประชุมนายกสภา การศึกษาที่เข้าร่วมพิธีรับ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 พระราชทานปริญญาบัตร 8. โครงการประชุมอนุกรรมการ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 9. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี

โครงกำรที่สนับสนุนยุทธศำสตร์ของสำถบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 พ.ศ.2565 - 2569 (ต่อ)

32

ตัวชี้วัด

กลยุทธ์

1. ร้อยละของนักศึกษำที่ผ่ำน เกณฑ์กำรประเมินมำตรฐำน วิชำชีพ 2. ระดับควำมพึงพอใจด้ำน คุณภำพของบัณฑิตของสถำน ประกอบกำร 3. ร้อยละของนักศึกษำที่สอบ ผ่ำนทักษะด้ำนภำษำอังกฤษ 4. จำนวนโครงกำรที่ส่งเสริม สนับสนุนพัฒนำ ควำมรู้ ทักษะ ควำมสำมำรถของ ผู้เรียน 5. ร้อยละของผู้สำเร็จกำรศึกษำที่ เป็นกำลังคนเข้ำสู่ ตลำดแรงงำน

1. ร้อยละของผู้เรียนทุกสำขำ/ทุกชั้นปี เข้ำร่วมโครงกำร/กิจกรรม 2. ผู้เรียนมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจกำร นำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง ไปปฏิบัติ 3. จำนวนโครงกำรส่งเสริมให้ผู้เรียน เป็นคนดี มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจิตสำธำรณะ 4. ระดับควำมพึงพอใจต่อคุณภำพ บัณฑิตด้ำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์

32

1. ร้อยละของครู อำจำรย์และ บุคลำกรทำงกำรศึกษำที่ได้รบั กำร อบรม/พัฒนำ 2. จำนวนโครงกำรที่ส่งเสริม สนับสนุนพัฒนำควำมสำมำรถ ของครู อำจำรย์และบุคลำกร ทำงกำรศึกษำ 3. จำนวนหลักสูตรที่รองรับควำม ต้องกำรในอนำคต 4. ร้อยละของครู อำจำรย์ที่มีวุฒิ กำรศึกษำระดับปริญญำโทขึ้นไป

1. พัฒนำครู อำจำรย์และ บุคลำกรทำงกำรศึกษำให้มี ศักยภำพตำมมำตรฐำนวิชำชีพ 2. พัฒนำครู อำจำรย์และ บุคลำกรทำงกำรศึกษำให้มี คุณธรรมและจริยธรรมและมี ควำมศรัทธำในวิชำชีพ 3. พัฒนำหลักสูตรและกระบวนกำร จัดกำรเรียนกำรสอน 4. ส่งเสริม สนับสนุน สร้ำงขวัญ กำรใจครู อำจำรย์และ บุคลำกรทำงกำรศึกษำ ในกำรปฏิบัติงำน

เป้าประสงค์ 1. พัฒนำผู้เรียนให้มีทักษะ วิชำชีพและทักษะชีวิต ในยุคดิจิทัล 2. ส่งเสริมสนับสนุนควำมเป็นเลิศ เฉพำะด้ำนของผู้เรียน 3. ยกระดับคุณภำพผู้เรียน และผู้สำเร็จกำรศึกษำ ตำมมำตรฐำนวิชำชีพ

ครู อำจำรย์และบุคลำกรทำงกำร ศึกษำ มีสมรรถนะตำมมำตรฐำน กำรปฏิบัติงำน

ผู้เรียนมีสมรรถนะตรงตำมควำม ต้องกำรของตลำดแรงงำนและ กำรพัฒนำประเทศ

ผู้เรียนมีควำมพร้อมในกำรเข้ำสู่ ตลำดแรงงำนและสังคม

ยุทธศาสตร์

1. ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีจิตสำนึก ทัศนคติ ค่ำนิยม ในกำรพัฒนำ คุณภำพชีวิต 2. ส่งเสริมกำรเรียนรู้ตำมปรัชญำ ของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจิตสำธำรณะ

ยุทธศำสตร์ที่ 3 ยกระดับศักยภำพ ครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ใน กำรจัดกำรเรียนรู้และพัฒนำ หลักสูตร

ผลิตและพัฒนำกำลังคนด้ำนวิชำชีพทีไ่ ด้มำตรฐำน จัดกำรอำชีวศึกษำและส่งเสริมกำรอบรมวิชำชีพให้มีคุณภำพตำมมำตรฐำนวิชำชีพ ส่งเสริม พัฒนำครู อำจำรย์และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วนในกำรจัดกำรอำชีวศึกษำ ส่งเสริม สนับสนุนกำรวิจัย สร้ำงนวัตกรรม พัฒนำองค์ควำมรู้เพื่อพัฒนำอำชีพ กำรบริหำรจัดกำรอำชีวศึกษำอย่ำงมีคณ ุ ภำพ ยุทธศำสตร์ที่ 2 ผลิตและพัฒนำกำลังคนด้ำน วิชำชีพให้สอดคล้องกับควำม ต้องกำรของตลำดแรงงงำนและ กำรพัฒนำประเทศ

     

1. จำนวนหน่วยงำนและสถำน ประกอบกำรที่ลงนำม ควำมร่วมมือ 2. ร้อยละครูฝึกในสถำน ประกอบกำรที่ได้รับกำรอบรม และแต่งตั้ง 3. จำนวนโครงกำรที่ส่งเสริม สนับสนุนกำรสร้ำงเครือข่ำย ควำมร่วมมือ

1. ร้อยละของครู อำจำรย์ ที่สำมำรถ จัดทำงำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 2. ร้อยละงำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ของครูอำจำรย์ที่ได้รับ กำรเผยแพร่ 3. ร้อยละของผู้เรียนปีสุดท้ำยสำมำรถ จัดทำโครงกำร งำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 4. ร้อยละงำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ของผู้เรียนที่ได้รับกำร เผยแพร่ 5. จำนวนโครงกำรที่พัฒนำเทคโนโลยี งำนวิจัย นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์

1. พัฒนำงำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 2. ประสำนควำมร่วมมือกับ ภำคอุตสำหกรรม ชุมชน และ สังคม ในกำรสร้ำงงำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 3. ส่งเสริม สนับสนุน กำรนำ ผลงำนวิจัย สิ่งประดิษฐ์ไปใช้ ประโยชน์ในกำรพัฒนำ ชุมชนและสังคม 4. ส่งเสริม สนับสนุนกำรขอรับ ทุนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์

1. ระดับควำมพึงพอใจของ บุคลำกรต่อระบบบริหำร จัดกำร 2. ระดับควำมพึงพอใจของ บุคลำกรต่อระบบสำรสนเทศ ในกำรบริหำรจัดกำร 3. ระดับควำมพึงพอใจที่มีตอ่ กำร ปฏิบตั ิงำนพัฒนำอำคำร สถำนที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบตั ิกำร 4. ร้อยละของครู อำจำรย์และ บุคลำกรทำงกำรศึกษำมีควำม เข้ำใจในเรื่องกำรประกัน คุณภำพ 6. ร้อยละของผู้สำเร็จกำรศึกษำที่ เข้ำร่วมพิธีรบั พระรำชทำน ปริญญำบัตร

1. พัฒนำระบบบริหำรจัดกำร ตำมหลักธรรมำภิบำล 2. พัฒนำระบบเทคโนโลยี สำรสนเทศเพื่อกำรบริหำร จัดกำร 3. สร้ำงค่ำนิยมกำรเรียน อำชีวศึกษำและกำรปรับ ภำพลักษณ์

กำรบริหำรจัดกำร ที่มีประสิทธิภำพ ตำมหลักธรรมำภิบำล

งำนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ที่มีคุณภำพ

มีเครือข่ำยและควำมร่วมมือ ที่มีคุณภำพ 1. สร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือกับ ภำครัฐและภำคเอกชนทุกระดับ 2. พัฒนำระบบเครือข่ำยและ ควำมร่วมมือ

ยุทธศำสตร์ที่ 6 เพิ่มประสิทธิภำพ กำรบริหำรจัดกำร

ยุทธศำสตร์ที่ 5 สร้ำงโอกำสทำงกำรศึกษำ เทคโนโลยี กำรวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์

ยุทธศำสตร์ที่ 4 สร้ำงเครือข่ำยและควำมร่วมมือ ผลิตและพัฒนำกำลังคน

สถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2 ผลิตและพัฒนำกำลังคนสำยอำชีพและเทคโนโลยีที่มีคุณภำพตำมมำตรฐำนสำกล

ยุทธศำสตร์ที่ 1 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนำคุณภำพและ สมรรถนะของผู้เรียนสำยวิชำชีพ

พันธกิจ

วิสัยทัศน์

แผนพัฒนำยุทธศำสตร์สถำบันกำรอำชีวศึกษำ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) ของสถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2

33 ยุทธศำสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 6 การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพของระบบบริ ห ารจั ด การศึกษา

ยุทธศำสตร์ที่ 4 สร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียม ทางการศึกษา

ยุทธศำสตร์ที่ 5 ด้ า นการสร้ า งการเติ บ โตบนคุณ ภาพชีวิตที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 6 ด้ า นการปรั บ สมดุ ล และพั ฒ นาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐ

ยุทธศำสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้

ยุทธศำสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศำสตร์ที่ 3 ด้ า นการพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศำสตร์ที่ 4 ด้ า นการสร้ า งโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม

ยุทธศำสตร์ที่ 2 การผลิ ต และพั ฒ นาก าลั ง คน การวิ จั ย และ นวั ต กรรม เพื่ อ สร้ า งขี ด ความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ

ยุทธศำสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลังคนด้านการอาชีวศึกษา เพื่ อ สร้ า งขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของ ประเทศ ยุทธศำสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่า เทียมในด้านการอาชีวศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศำสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลังคนด้านการอาชีวศึกษา เพื่ อ สร้ า งขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของ ประเทศ ยุทธศำสตร์ที่ 5 การจัดการอาชี วศึก ษาเพื่อสร้า งเสริ มคุ ณ ภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่า เทียมในด้านการอาชีวศึกษา ยุทธศำสตร์ที่ 6 การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพระบบบริ ห ารจั ด การ อาชีวศึกษา

ยุทธศำสตร์ที่ 2 การผลิ ต และพั ฒ นาก าลั ง คน การวิ จั ย และ นวั ต กรรม เพื่ อ สร้ า งขี ด ความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ

ยุทธศำสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศำสตร์ที่ 3 ด้ า นการพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์

ยุทธศำสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศำสตร์ที่ 3 ด้ า นการพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์

แผนยุทธศำสตร์ สอศ. (2560 – 2579) ยุทธศำสตร์ที่ 1 การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคม และประเทศชาติ ยุทธศำสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพกาลังคนด้านอาชีวศึกษาให้มี สมรรถนะ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการในการ พัฒนาประเทศ ยุทธศำสตร์ที่ 5 การจัดการอาชี วศึก ษาเพื่อสร้า งเสริ มคุ ณ ภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศำสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลังคนด้านการอาชีวศึกษา เพื่ อ สร้ า งขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของ ประเทศ ยุทธศำสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพกาลังคนด้านอาชีวศึกษาให้มี สมรรถนะ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการในการ พัฒนาประเทศ ยุทธศำสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพกาลังคนด้านอาชีวศึกษาให้มี สมรรถนะ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการในการ พัฒนาประเทศ

แผนกำรศึกษำแห่งชำติ ระยะ 20 ปี (2560 -2579) ยุทธศำสตร์ที่ 1 ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ ค ว า ม มั่ น ค ง ของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศำสตร์ที่ 5 การจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ สร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี (2561 – 2580) ยุทธศำสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศำสตร์ที่ 5 ด้ า นการสร้ า งการเติ บ โตบนคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

มำตรฐำนที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา - ด้านการบริหารจัดการ

มำตรฐำนที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ - ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย

มำตรฐำนที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ - ด้ า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร ส ร้ า ง สั ง ค ม แห่งการเรียนรู้

มำตรฐำนที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา - ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา - ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

มำตรฐำนที่ 1 คุ ณ ลั ก ษณะของผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาอาชี ว ศึ ก ษาที่ พึ ง ประสงค์ - ด้านความรู้ - ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้

มำตรฐำนที่ 1 คุ ณ ลั ก ษณะของผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาอาชี ว ศึ ก ษาที่ พึ ง ประสงค์ - ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ - ด้ า นคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์

มำตรฐำนอำชีวศึกษำ 2561

กำรเชื่อมโยงยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้องกับยุทธศำสตร์สถำบันกำรอำชีวศึกษำภำคกลำง 2

ยุทธศำสตร์ที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

ยุทธศำสตร์ที่ 5 สร้ า งโอกาสทางการศึ ก ษาเทคโนโลยี การวิ จั ย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์

ยุทธศำสตร์ที่ 4 สร้ า งเครื อ ข่ า ยและความร่ ว มมื อ ผลิ ต และพั ฒ นา กาลังคน

ยุทธศำสตร์ที่ 3 ยกระดับศักยภาพ ครู อาจารย์และบุคลากรทางการ ศึกษา ในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาหลักสูตร

ยุทธศำสตร์ที่ 2 ผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพให้สอดคล้องกับ ความต้ อ งการของตลาดแรงงานและการพั ฒ นา ประเทศ

ยุทธศำสตร์สถำบันกำรอำชีวศึกษำ ภำคกลำง 2 ยุทธศำสตร์ที่ 1 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพและสมรรถนะของ ผู้เรียนสายวิชาชีพ

ภำคผนวก

driirnrtiunr:oril,lilnvtaranarr u

d oc;ctbcbd rCor udl#.rnrusn::un1:inri1uuqx0fi1dn{fiflu1n1:enufl01fun1:oli?;lnvmlanalr b (il.6. bcrd-bcr.0 .t.y

rfrohinr:or-otirunuqvroman{ c 0 (yr.r.uau( - bdb6() ro{a01fun1?olirilnurnrnnarl b

tf,uldrunmlriuvioo u::qinqrJ:varrir'#.rli uavnuuTuurutorueuquonranihr:r{ruurd:vrrs bo t (n.n. bcuo - brido) ueurYruurrfi:ugfiouavdlnuuvilrrfi oriun' ob (r.a.bcuo - bdbd) :ru6lunufiruurnr:orttfinut bo i (r.n.bcuo - bdcr6() uavaonndolriuutuuru,uo,tdrfnvir,J aruvn::rJn'ltn'ltorirf,nur anrfunr:oririlnu1R1ann1{ b 6rurilei{aruvn::unr:o'nrirunuquonranirdo lrolu1n17fl nu1fl

nruunrrot tdnulnlRnnl! b

(fl

.r{,batd - bcu*) rYld

)-

o. 66uvn::r!n1Tfi rJlinvr rJ:cnOUdru

o.uruquaf,nd

rI:uar,Nu

urstn:tau

lArn c|. uluJ:ua1: fiurialr d. u1r,o! f,iir::ru b.

c.

n::rrmanranrriurn:srftflntnrnnnnrl b n:amr:flnranniunr:sriadntnnrnnnt b m:um:antanniunr:orirfintnnrnnat b

uruoGfld n6r.ondu

fiurnuttr trr:nnr cr. uttrJT:r4u"o rJ:svn c. urut:it niuauiou b.

t

y.lty.

u1unanlaoinyun.t:o{,?finuumnarb

nfi,lnrflnlannJunr:glirf,ntnrnnnar b nfilnTrajnd0dum:o1i?enuulnn81.t b (ri"nnunrfrnurd'urvrniinanql invrrrtnr:uru

{dmanr:annlum:sri?fl nuuranarc b

t.l o nsrhfi hirirrJ5ntrrsnc6uouucrfiurdunr:i'nrlrueuqno;ranirfiqr{ruurnr:fintnaoniunr:orirf,ntn

nlnnar b (r.fl.bdbd

)

n::lnnanraoliumroli?Antnnlnnmr b

- bdlDco

b. ausn:t!n1:d'ru':unr: rJ:vngtf,ru o.

ulult?"t

b. urlrJ:vald en.

urafflfin

d. uluuilna d. !1u01u1n b. u1rJ07l1{u

riualdou quain: o0n$u

ilu,E'xrfiilffi, {ritnonr:ivrurduvra0narqi fntmttnnumt r$iruurnernrlunnoftf, ,nr1n'rRnarl b :€Nnhsrruffirrn'yt {dru:u nr:inurfrutuaiiadtual ,xfit!fn: {dnnonrintn6'utmninf,truTvr l

lJ',lUffifU

{drrnunr:irurd-u rvrn0n?oiql ..1 - - . d {dlmun1:r-vru'uiu rilm;ind{niw ux{ll b

nt: fn: n:flm:

2{flu:vK:!

{rirrnunr:ivrurduorft f, nvr?oiql

nfilJfn:

q?rrruErJilr

.

/.,/1.',1Ud',/t1U...

*

r'

-2sr. u'toarJtlu

( 0'lu?un1t? yrulau0'l!2fi

0uvllu:'r.rn

d. r.J1.r2tttullla au!0a{u yttitn:3na d. llrfia'tnt

nulallq:

n:rtjmt

n::!n1: n::!nlruavtarltnl:

{01u?un1to'1d2fl nulu fu?rn

t01u2un1:alunYt0Ju1qvl661ant llaun?'llr:?!1J0011?flu1

:,J!ru1Y1

o.

Ifi'n"tuinuluucd'rifioduf,inr: drurua':rlasnrnlrJnr:rirr0u.rru U:varuc'lu n:uq4uahirtuhJcrrn

b.

inqtJ:va.rd uarotu 1 nr#rfiuaunr: .l - Jr ufr!rUuT froloovtilniiulu:cu'jr.:nr:r-orirttiluqylon16niriruu1nr:Tinuraoliunl:o1i2enu1 R1nna1{ b (Yr.fl. todlod

.n. n su!n::lln1:rirr0ulruinrir

-

ladlooo

rferuqroaren{nrrfruu1 Ut!noud?u

o.

ulur:it

b.

utfixrn: rrlntuqn

oisaldou

{tirurunr:inura"urua0anvrqi inur:rrnr:uyru rJ:corun::!nr: {drurunr:aorfum:o1i?6ntnn1nna1{ b {drurunr:drrinfiruurqmaran{ r0{rrJ:umun:flin1t

uncnruirufioorirflnur

aulnnlri {rirurunr:orirf,nurrlrufisr n::!n1t

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.