Data Loading...

กิจกรรมที่ 7บทที่ 3 พันธะเคมี เคมี1 Flipbook PDF

กิจกรรมที่ 7บทที่ 3 พันธะเคมี เคมี1


112 Views
49 Downloads
FLIP PDF 1.4MB

DOWNLOAD FLIP

REPORT DMCA

ครู วารุ ณี มะณีสอน โรงเรียนชนแดนวิทยาคม

การเกิดพันธะเคมี อะตอมมีแนวโนมที่จะรับอิเล็กตรอน เสียอิเล็กตรอน หรือใช อิเล็กตรอนรวมกัน เพื่อใหแตละอะตอมมีเวเลนซอิเล็กตรอน เทากับ 8 พันธะเคมี เปนแรงยึดเหนี่ยวของอะตอมหรือไอออนในสาร สามารถแบงออกได 3 ชนิด

พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต พันธะโลหะ

พันธะไอออนิก

การเกิดเปนไอออนของธาตุ โลหะ มี IE ต่ํา เสียอิเล็กตรอนไดงาย จึงเสีย อิเล็กตรอนออกไป เพื่อใหมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 8 เกิดเปนไอออนบวก

สรุปวาธาตุหมู IA IIA และ IIIA จะเกิดเปนไอออนบวกที่มีประจุ +1 +2 และ +3 ตามลําดับ

การเกิดเปนไอออนของธาตุ อโลหะ มี IE สูง เสียอิเล็กตรอนยาก จะรับอิเล็กตรอน เพื่อใหมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 8 เกิดเปนไอออนลบ

สรุปวาธาตุหมู VIIA VIA และ VA จะเกิดเปนไอออนลบที่มีประจุ -1 -2 และ -3 ตามลําดับ

การเกิดพันธะไอออนิก

โลหะมี IE ต่ํา เสียอิเล็กตรอนไดงายจึงเกิด เปนไอออนบวก อโลหะมี IE สูง จะรับอิเล็กตรอนจากโลหะ เกิดเปนไอออนลบ แรงยึดเหนี่ยวระหวางไอออนบวกและไอออน ลบ

เรียกวา พันธะไอออนิก

การเกิดพันธะไอออนิกของ NaCl

การเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิก 1. เขียนไอออนบวกกอนไอออนลบ ยกเวน กลุมอะซิเตตไอออนจะเขียนไอออนลบจะเขียนกอน ไอออนบวก เชน CH3COONa (โซเดียมอะซิเตต), (CH3COO)2Ca (แคลเซียมอะซิเตต) 2. ไอออนบวก และไอออนลบจะรวมตัวกันในอัตราสวนที่ทําใหผล รวมประจุเทากับศูนย 3. การเขียนสูตรที่ถูกตองเกิดจากการคูณไขวเลขออกซิเดชัน / ประจุ 4. ถาธาตุใดมีเพียงอะตอมเดียวไมตองเขียนเลข 1 หอยแตถามี มากกวา 1 อะตอมใหหอยตัวเลขตามจํานวนอะตอมที่เปน องคประกอบในสารนั้น

5. ตัวอยางอนุมูลกลุมไอออนลบที่สามารถเกิดสารประกอบ ไอออนิกได มีดังนี้

ตัวอยาง การเขียนสูตรของสารประกอบไอออน  การเขียนสูตรสารประกอบลิเทียมออกไซด คูณไขว

Li ประจุ +1 (ไขวไปทาง O) O ประจุ -2 (ไขวไปทาง Li)

 การเขียนสูตรสารประกอบอะลูมิเนียมออกไซด คูณไขว

Al ประจุ +3 (ไขวไปทาง O) O ประจุ -2 (ไขวไปทาง Al)

ตัวอยาง การเรียกชื่อของสารประกอบไอออนิก 1. ใหอานชื่อธาตุที่เปนไอออนบวกกอน แลวตามดวย ธาตุที่เปนไอออนลบ 2. ธาตุที่เปนไอออนลบใหอานชื่อลงทายดวย “ide” (ไอด) 3. หากมีเลขหอยทายธาตุไมตองอานตัวเลข (ไมเหมือน สารประกอบ โคเวเลนตที่ตองอานเลขหอยดวย) KBr มีชื่อวา โพแทสเซียมโบรไมด NaCl มีชื่อวา โซเดียมคลอไรด MgCl2 มีชื่อวา แมกนีเซียมคลอไรด

4. ถาเปนสารที่เกิดจากอนุมูลกลุม ไอออน ใหอานชื่อธาตุ โลหะ แลวตามดวยชื่อกลุมไอออนไดเลย (โดยไมตองลง ทายดวย ไอด) Al(OH)3 มีชื่อวา อะลูมิเนียมไฮดรอก ไซด Na2SO3 มีชื่อวา โซเดียมซัลไฟด KNO3 มีชื่อวา โพแทสเซียมไนเตรต 5. การอานชื่อสูตรที่มีธาตุ Transition เนื่องจากกลุม ธาตุชนิดนี้มีเลขออกซิเดชันหลายคา จึงตองระบุประจุ เปนเลขโรมันในชื่อนั้นๆดวย แลวตามดวยชื่อกลุม ไอออน Cu2S มีชื่อวา คอปเปอร (I) ซัลไฟด CuS มีชื่อวา คอปเปอร (II) ซัลไฟด CuSO4 มีชื่อวา คอปเปอร (II) ซัลเฟต

6. สําหรับสารประกอบไอออนิกที่มีผลึกน้ําใหเรียกผลึก น้ํานั้นวา ไฮเดรต และบอกจํานวนผลึกน้ําดวยจํานวน นับเปนภาษากรีก CuSO4•5H2O มีชื่อวา คอปเปอร (II) ซัลเฟตเพนตะไฮเดรต NaCO3•10H2O มีชื่อวา โซเดียมคารบอเนต เดคะไฮเดรต ในบางกรณีสารประกอบที่มีเพียง 2 ธาตุ แตธาตุที่

อยูหลังบางธาตุ จะมีการตัดพยางคทายกอนเปลี่ยนเปน เสียงเปน ide เช่น  ไฮโดรเจน เปลี่ยนเปน ไฮไดรด  ไนโตรเจน เปลี่ยนเปน ไนไตรด  ออกซิเจน เปลี่ยนเปน ออกไซด  ฟอสฟอรัส เปลี่ยนเปน ฟอสไฟด

พลังงานกับกระบวนการสราง สารประกอบไอออนิก “การเกิดสารประกอบไอออนิกชนิดหนึ่งๆ ประกอบดวย หลายขั้นตอน แตละขั้นตอนเกี่ยวของกับพลังงาน” อธิบายไดดวย วัฏ จักรบอรน-ฮารเบอร

ขั้นที่ 1 การระเหิดของโลหะ ใชพลังงานการระเหิด (heat of sublimation : ∆Hsub) ขั้นที่ 2 การแตกตัวเปนไอออนของโลหะ ใชพลังงานไอออไนเซชัน (ionization energy : IE)

ขั้นที่ 3 การสลายพันธะของอโลหะ ใชพลังงานสลายพันธะ (dissociation energy : D)

ขั้นที่ 4 การรับอิเล็กตรอนของอโลหะ ใหพลังงานออกมา พลังงานนี้ คือ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (electron affinity : EA) ขั้นที่ 5 การเกิดผลึกไอออนิก ไอออนบวกและไอออนลบรวมกันเกิด เปนผลึก ไอออนิกและใหพลังงานออกมา พลังงานนี้คือพลังงานแลททิซ หรือ พลังงานโครงผลึก(lattice energy : U)

กระบวนการเกิดโซเดียมคลอไรด

กระบวนการเกิดโซเดียมคลอไรด

กระบวนการเกิดโซเดียมคลอไรด

เริ่มต น

สุดท าย

สมบัติของสารประกอบไอออนิก

สมบัติของสารประกอบไอออนิก

การละลายของสารประกอบไอออนิก การละลายคือการที่อนุภาคของตัวถูกละลายกระจายไป แทรกอยูระหวางอนุภาคของตัวทําละลาย แตละสารจะละลายในตัวทําละลายไดมากหรือนอยจะระบุใน รูปของ สภาพละลายไดของสาร (Solubility)

การละลายของสารประกอบไอออนิก