Data Loading...
หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์ บทที่ 7 Flipbook PDF
หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์ บทที่ 7
121 Views
203 Downloads
FLIP PDF 304.16KB
114
บทที่ 7 สถิติเบื้องตน สาระสําคัญ 1. ขอมูลสถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือขอความที่แทนขอเท็จจริงของลักษณะที่เราสนใจ 2. ระเบียบวิธีการทางสถิติ จะประกอบไปดวย การเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอขอมูล การ วิเคราะหและการตีความของขอมูล 3. การเก็บรวบรวมขอมูล หมายถึง กระบวนการกระทําเพื่อจะใหไดขอมูลที่ตองการศึกษาภายใต ขอบเขตที่กําหนด 4. การนําเสนอขอมูลที่เก็บรวบรวมมา จะมี 2 แบบ คือ การนําเสนออยางเปนแบบแผนและการ นําเสนออยางไมเปนแบบแผน 5. การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง เปนการหาคากลางดวยวิธีตาง ๆ กัน เพื่อใชเปนตัวแทนของ ขอมูลทั้งชุด คากลางที่นิยมใชมี 3 วิธี คาเฉลี่ยเลขคณิต คามัธยฐานและคาฐานนิยม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน และสามารถนําผลการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนไปใช ในการตัดสินใจได 2. เลือกใชคากลางที่เหมาะสมกับขอมูลที่กําหนดและวัตถุประสงคที่ตองการได 3. นําเสนอขอมูลในรูปแบบตางๆรวมทั้งการอานและตีความหมายจากการนําเสนอขอมูลได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน เรื่องที่ 2 การหาคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐานและฐานนิยม เรื่องที่ 3 การนําเสนอขอมูล
115
เรื่องที่ 1 การวิเคราะหขอ มูลเบื้องตน ความหมาย คําวา “สถิต”ิ เปนเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการตัดสินใจหรือวางแผน ซึ่งแตเดิม เขาใจวา สถิติ หมายถึง ขอมูลหรือขาวสารที่เปนประโยชนตอการบริหารงานของภาครัฐ เชน การ จัดเก็บภาษี การสํารวจผลผลิต ขอมูลที่เกี่ย วของกับประชากร จึงมีรากศัพทมาจากคําวา “State” แต ปจจุบันสถิติ มีความหมายอยู 2 ประการ คือ 1. ตัวเลขที่แทนขอเท็จจริงที่มีการแปรเปลี่ยนไปตามปริมาณสิ่งของที่วัดเปนคาออกมา เชน สถิติเกี่ยวกับจํานวนนักเรียนในโรงเรียน จํานวนนักเรียนที่มาและขาดการเรียนในรอบเดือน ปริมาณ น้ําฝนในรอบป จํานวนอุบัติเหตุการเดินทางในชวงปใหมและสงกรานต เปนตน 2. สถิติใ นความหมายของวิชาหรือ ศาสตรที่ต รงกับ ภาษาอังกฤษวา “Statistics” หมายถึ ง กระบวนการจัดกระทําของขอมูลตั้งแตการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การนําเสนอขอมูล และการตีความหรือแปลความหมายขอมูล เปนตน การศึกษาวิชาสถิติจะชวยใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในระเบียบวิธีสถิติที่เปนประโยชนใ น ชีวิต ประจําวัน ตั้งแตก ารวางแผน การเลือกใช และการปฏิบัติใ นการดําเนินงานตาง ๆ รวมทั้งการ แกปญหาในเรื่องตาง ๆ ทั้งในวงการศึกษาวิทยาศาสตร การเกษตร การแพทย การทหาร ธุรกิจตาง ๆ เปนตน กิจการตาง ๆ ตองอาศัยขอมูลสถิติและระเบียบสถิติตาง ๆ มาชวยจัดการ ทั้งนี้เนื่องจากการ ตัดสินใจหรือการวางแผน และการแกปญหาอยางมีหลักเกณฑจะทําใหโอกาสที่จะตัดสินใจเกิดความ ผิดพลาดนอยที่สุดได นอกจากนี้หลักวิชาทางสถิติยังสามารถนําไปประยุกตใชกับการจัดเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อความ จําเปน ที่ตองนําไปใชงานในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งทําใหทราบขอมูล และทําความเขาใจกับ ขาวสารและรายงานขอมูลทางวิชาการตาง ๆ ที่นําเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ ซึ่งผูอานหากมีความรูความเขาใจในเรื่องของสถิติเบื้องตนแลว จะทําใหผูอานสามารถรูและเขาใจใน ขอมูลและขาวสารไดเปนอยางดี 1.1 ชนิดของขอมูล อาจแบงไดเปนดังนี้ 1. ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เปนขอมูลที่แสดงถึง คุณสมบัติ สภาพ สถานะ หรือความคิดเห็น เชน ความสวย ระดับการศึกษา เพศ อาชีพ เปนตน 2. ขอมูลเชิงปริมาณ (Qualitative data ) เปนขอมูลที่เปนตัวเลข เชน ขอมูลที่เกิดจากการ ชั่ง ตวง หรือ คาของขอมูลที่นําปริมาณมาเปรียบเทียบกันได เชน ความยาว น้ําหนัก สวนสูง สถิติของ คนงานแยกตามเงินเดือน เปนตน
116
นอกจากนี้ยังมีขอมูลซึ่งสามารถแยกตามกาลเวลาและสภาพภูมิศาสตรอีกดวย แหลงที่มาของขอมูล โดยปกติขอมูลที่ไดมาจะมาจากแหลงตาง ๆ อยู 2 ประเภท คือ - ขอมูลปฐมภูมิ ( Primary data ) หมายถึง ขอมูลที่รวบรวมมาจากผูใหหรือแหลงที่ เปนขอมูลโดยตรง เชน การสํารวจนับจํานวนพนักงานในบริษัทแหงหนึ่ง - ขอมูลทุติยภูมิ ( Secondary data ) หมายถึง ขอมูลที่รวบรวมหรือเก็บมาจาก แหลงขอมูลที่มีการรวบรวมไวแลว เชน การคัดลอกจํานวนสินคาสงออกที่การทาเรือไดรวบรวมไว 1.2 การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลในทางสถิติจะมีวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลได 3 วิธี ตาม ลักษณะของการปฏิบัติ กลาวคือ 1) วิธีการเก็บขอมูลจากการสํารวจ การเก็บรวบรวมขอมูลวิธีนี้เปนที่ใ ชกัน อยาง แพรหลาย โดยสามารถทําไดตั้งแตการสํามะโน การสอบถาม / สัมภาษณจากแหลงขอมูลโดยตรง รวมทั้งการเก็บรวบรวมขอมูลที่เกิดเหตุจริง ๆ เชน การเขาไปสํารวจผูมีงานทําในตําบล หมูบาน การ แจงนับนักทองเที่ยวที่เขามาในจังหวัด หรืออําเภอ การสอบถามขอมูลคนไขที่นอนอยูในโรงพยาบาล เปนตน วิธีการสํารวจนี้สามารถกระทําไดหลายกรณี เชน 1.1 การสอบถาม วิธีที่นิยม คือ การสงแบบสํารวจหรือแบบขอคําถามที่ เหมาะสม เขาใจงายใหผูอานตอบ ผูตอบมีอิสระในการตอบ แลวกรอกขอมูลสงคืน วิธีการสอบถามอาจ ใชสื่อทางไปรษณีย ทางโทรศัพท เปนตน วิธนี ี้ประหยัดคาใชจาย 1.2 การสัมภาษณ เปนวิธีการรวบรวมขอมูลที่ไดคําตอบทันที ครบถวน เชื่อถือไดดี แตอาจเสียเวลาและคาใชจายคอนขางสูง การสัมภาษณทําไดทั้งเปนรายบุคคลและเปนกลุม 2) วิธีการเก็บขอมูลจากการสังเกต เปนวิธีการรวบรวมขอมูลโดยการบันทึกสิ่งที่ พบเห็นจริงในขณะนั้น ขอมูลจะเชื่อถือไดมากนอยอยูที่ผูรวบรวมขอมูล สามารถกระทําไดเปนชวง ๆ และเวลาที่ตอเนื่องกันได วิธีนี้ใชควบคูไปกับวิธีอื่นๆ ไดดวย 3) วิธีการเก็บขอมูลจากการทดลอง เปนการเก็บรวบรวมขอมูลที่มีการทดลอง หรือปฏิบัติอยูจริงในขณะนั้นขอดีที่ทําใหเราทราบขอมูล ขั้นตอน เหตุการณที่ตอเนื่องที่ถูกตองเชื่อถือได บางครั้งตองใชเวลาเก็บขอมูลที่นานมาก ทั้งนี้ตองอาศัยความชํานาญของผูทดลอง หรือผูถูกทดลองดวย จึงจะทําใหไดขอมูลที่มีความคลาดเคลื่อนนอยที่สุด อนึ่ง การเก็บรวบรวมขอมูล ถาเราเลือกมาจากจํานวนหรือรายการของขอมูลที่ ตองการเก็บมาทั้งหมดทุกหนวยจะเรียกวา “ประชากร” ( Population ) แตถาเราเลือกมาเปนบางหนวย และเปนตัวแทนของประชากรนั้น ๆ เราจะเรียกวา กลุมตัวอยางหรือ “ ตัวอยาง” ( Sample )
117
1.3 การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูล เปนการแยกขอมูลสถิติที่ไดมาเปนตัวเลขหรือขอความจากการรวบรวม ขอมูลใหเปนระเบียบพรอมที่จะนําไปใชประโยชนตามความตองการ ทั้งนี้รวมถึงการคํานวณหรือหา คาสถิติในรูปแบบตาง ๆ ดวย มีวีธกี ารดําเนินงานดังนี้ 1.3.1 การแจกแจงความถี่ ( Frequency distribution ) เปนวิธีการจัดขอมูลของสถิติที่มีอยู หรือ เก็บรวบรวมมาจัดเปนกลุมเปนพวก เพื่อความสะดวกในการที่นํามาวิเคราะห เชน การวิเคราะหคาเฉลี่ย คาความแปรปรวนของขอมูล เปนตน การแจกแจงความถี่จะกระทําก็ตอเมื่อมีความประสงคจะวิเคราะห ขอมูลที่มีจํานวนมาก ๆ หรือขอมูลที่ซ้ํา ๆ กัน เพื่อชวยในการประหยัดเวลา และใหก ารสรุปผลของ ขอมูลมีความรัดกุมสะดวกตอการนําไปใชและอางอิง รวมทั้งการนําไปใชประโยชนในดานอื่น ๆ ตอไป ดวย สวนคําวา “ตัวแปร” ( Variable ) ในทางสถิติ หมายถึง ลักษณะบางสิ่งบางอยางที่เราสนใจจะ ศึกษาโดยลักษณะเหลานั้นสามารถเปลี่ยนคาได ไมวาสิ่งนั้นจะเปนขอมูลเชิงปริมาณหรือคุณภาพ เชน อายุของนักศึกษาการศึกษาทางไกลที่วัดออกมาเปนตัวเลขที่แตกตางกัน หากเปนเพศมีทั้งเพศชายและ หญิง เปนตน การแจกแจงความถี่แบงออกเปน 4 แบบคือ 1. การแจกแจงความถี่ทั่วไป 2. การแจกแจงความถี่สะสม 3. การแจกแจงความถี่สัมพัทธ 4. การแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ 1. การแจกแจงความถี่ทั่วไป จัดแบบเปนตารางได 2 ลักษณะ 1) ตารางการแจกแจงความถี่แบบไมจัดเปนกลุม เปนการนําขอมูลมาเรียงลําดับจากนอยไปหา มาก หรือมากไปหานอย แลวดูวาจํานวนในแตละตัวมีตัวซ้ําอยู กี่จํานวน วิธีนี้ขอมูลแตละชวงชั้นจะ เทากันโดยตลอด และเหมาะกับการแจกแจงขอมูลที่ไมมากนัก ตัวอยางที่ 1 คะแนนการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักศึกษา 25 คน คะแนนเต็ม 15 คะแนน มีดังนี้ 12 9 10 14 6 13 11 7 9 10 7 5 8 6 11 4 10 2 12 8 10 15 9 4 7
118
เมื่อนําขอมูลมานับซ้ํา โดยทําเปนตารางมีรอยขีดเปนความถี่ ไดดังนี้ คะแนน
รอยขีด
ความถี่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
/ // / // /// // /// //// // // / / /
0 1 0 2 1 2 3 2 3 4 2 2 1 1 1
รวม
25
หรืออาจนําเสนอเปนตารางเฉพาะคะแนนและความถี่ไดอกี ดังนี้ คะแนน ( x ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ความถี่ ( f ) 0 1 0 2 1 2 3 2 3 4 2 2 1 1 1
รวม 25
2) การแจกแจงความถี่แบบจัดเปนกลุม การแจกแจงความถี่แบบจัด เปนกลุมนี้เรียกวาจัดเปน อันตรภาคชั้น เปนการนําขอมูลมาจัดลําดับจากมากไปหานอย หรือนอยไปหามากเชนกัน โดยขอมูล แตละชั้นจะมีชวงชั้นที่เทากัน การแจกแจงแบบนี้เหมาะสําหรับจัดกระทํากับขอมูลที่มีจํานวนมาก ตัวอยางที่ 2 อายุของประชากรในหมูบานหนึ่งจํานวน 45 คน เปนดังนี้ 41 53 61 42 15 39 65 40 64 22 71 62 50 81 43 60 16 63 31 52 47 48 90 73 83 78 56 50 80 45 37 51 49 55 78 60 90 31 44 22 54 36 22 66 46
119
เมือ่ นําขอมูลมาทําเปนตารางแจกแจงความถี่แบบจัดเปนกลุม ไดดังนี้
1. การแจกแจงความถี่ที่เปนอันตรภาคชั้น มีคําเรียกความหมายของคําตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1.1 อันตรภาคชั้น ( Class interval ) หมายถึง ขอมูลที่แบงออกเปนชวง ๆ เชน อันตรภาค ชัน้ 11-20 , 21 -30 ,61–70 ,81-90 เปนตน 1.2. ขนาดของอันตรภาคชั้น หมายถึง ความกวาง 1 ชวงของขอมูลในแตละชั้น จาก 11-20 หรือ 61-70 จะมีคาเทากับ 10 1.3 จํานวนของอันตรภาคชั้น หมายถึง จํานวนชวงชั้นทั้งหมดที่ไดแจกแจงไวในที่นี้ มี 10 ชั้น 1.4 ความถี่ ( Frequency ) หมายถึง รอยขีดที่ซ้ํากัน หรือจํานวนขอมูลที่ซ้ํากันในอันตรภาค ชั้นนั้น ๆ เชน อันตรภาคชั้น 41-50 มีความถี่เทากับ 11 หรือมีผูที่มีอายุในชวง 41-50 มีอยู 11 คน 1.4 การแจกแจงความถี่สะสม ความถี่สะสม ( Commulative frequency ) หมายถึง ความถี่สะสมของอันตรภาคใด ที่เกิด จากผลรวมของความถี่ของอันตภาคนั้น ๆ กับความถี่ของอันตรภาคชัน้ ที่มีชวงคะแนนต่ํากวาทั้งหมด ( หรือสูงกวาทั้งหมด ) ตัวอยางที่ 3 ขอมูลสวนสูง (เซนติเมตร) ของพนักงานคนงานโรงงานแหงหนึ่ง จํานวน 40 คนมีดังนี้ 142 145 160 174 146 154 152 157 185 158 164 148 154 166 154 175 144 138 174 168 152 160 141 148 152 145 148 154 178 156
120
166 164 130 158 162 159 180 136 135 172 เมื่อนํามาแจกแจงความถี่ไดดังนี้
หมายเหตุ ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นสุดทายจะเทากับผลรวมของความถี่ทั้งหมดและสิ่งที่ควรทราบ ตอไปไดแก ขีดจํากัดลาง ขีดจํากัดบนและจุดกึ่งกลางชัน้ 1.5 การแจกแจงความถี่สัมพัทธ ความถี่สัมพัทธ ( Relative frequency ) หมายถึง อัตราสวนระหวางความถี่ของอันตรภาค ชั้นนั้นกับผลรวมของความถี่ทั้งหมด ซึ่งสามารถแสดงในรูปจุดทศนิยม หรือรอยละก็ได ตัวอยางที่ 4 การแจกแจงความถี่สัมพัทธของสวนสูงนักศึกษา
หมายเหตุ ผลรวมของความถี่สัมพัทธตองเทากับ 1 และคารอยละความถี่สัมพัทธตองเทากับ 100 ดวย
121
1.6 การแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ ความถี่สะสมสัมพัทธ ( Relative commulative frequency ) ของอันตภาคใด คือ อัตราสวนระหวางความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นนั้นกับผลรวมของความถี่ทั้งหมด ตัวอยางที่ 5 การแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธของสวนสูงนักศึกษา
1.7 ขีดจํากัดชั้น ( Class limit ) หมายถึง ตัวเลขที่ปรากฏอยูในอันตรภาคชั้น แบงเปนขีดจํากัดบน และขีดจํากัดลาง ( ดูตารางในตัวอยางที่ 5 ประกอบ) 1.1 ขีดจํากัดบนหรือขอบบน ( Upper boundary ) คือ คากึ่งกลางระหวางคะแนนที่มาก ที่สุดในอันตรภาคชั้นนั้นกับคะแนนนอยที่สุดของอันตรภาคชั้นที่ติดกันในชวงคะแนนที่สูงกวา เชน อันตรภาคชั้น 140 -149 ขอบบน =
149 150 149.5 2
นั่นคือ ขีดจํากัดบนของอันตรภาคขั้น 140 – 149 คือ 149.5 1.2 ขีดจํากัดลางหรือขอบลาง ( Lower boundary ) คือ คากึ่งกลางระหวางคะแนนที่ นอยที่สุดในอันตรภาคชั้นนั้นกับคะแนนที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นที่อยูติดกันในชวงคะแนนที่ต่ํา กวา เชน ตัวอยางอันตรภาคชั้น 140 – 149 ขอบลาง =
140 139
139.5
2
นั่นคือ ขีดจํากัดลางของอันตภาคขั้น 140 – 149 คือ 139.5
122
ตัวอยางที่ 6 การแจกแจงความถี่ของสวนสูงนักศึกษา ความสูง (ซม.) ความถี่ ความถี่สะสม ขีดจํากัดลาง 180 – 189 2 40 179.5 170 – 179 5 38 169.5 160 – 169 8 33 159.5 150 – 159 12 25 149.5 140 – 149 9 13 139.5 130 – 139 4 4 129.5 รวม 40
ขีดจํากัดบน 189.5 149.5 * 169.5 159.5 ** 149.5 * 139.5
จุดกึ่งกลางชั้น 184.5 174.5 164.5 154.5 144.5 134.5
1.8 จุดกึ่งกลางชั้น ( Mid point ) เปนคาหรือคะแนนที่อยูระหวางกลางของอันตรภาคชั้นนัน้ ๆ เชน อันตรภาคชั้น 150 -159 จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชัน้ ดังกลาว 150 159 154.5 เปนตน 2 นอกจากนี้ยังสามารถแสดงการแจกแจงความถีข่ องขอมูลโดยใชฮิสโทแกรม (Histogram ) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency polygon ) เสนโคงของความถี่ (Frequency curve )