14 ทักษะวิทยาศาสตร์ Flipbook PDF

14 ทักษะวิทยาศาสตร์
Author:  k

58 downloads 278 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ใบความรู้เสริมวิชาวิทยาศาสตร์1

ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ Science process skills

รวบรวมโดย ครูวราภรณ์ พละศักดิ์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

การทางานในกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์จาเป็นต้องอาศัย ทักษะเพื่อช่วยให้การทางานเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ Science process skills

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 14 ทักษะ ทักษะพื้นฐาน 8 ทักษะ 1. การสังเกต

2. การวัด

3. การจาแนกประเภท

4. การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และสเปซกับเวลา 5. การใช้จานวน

6. การจัดกระทาและสื่อความหมายของข้อมูล 7. การลงความเห็นจากข้อมูล 8. การพยากรณ์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 14 ทักษะ ทักษะขั้นสูง 6 ทักษะ 9. การตั้งสมมติฐาน

10. การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 11. การกาหนดและควบคุมตัวแปร 12. การทดลอง 13. การตีความหมายของข้อมูลและลงข้อสรุป

14. การสร้างแบบจาลอง

1 การสังเกต

ความหมาย การใช้ ป ระสาทสั ม ผั ส ทั้ ง 5 อย่ า งใดอย่ า ง หนึ่งหรือใช้หลายอย่างร่วมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกายโดยการมองเห็น ได้ยิน ด ม ก ลิ่ น รั บ ร ส แ ล ะ สั ม ผั ส วั ต ถุ ห รื อ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ต่ า ง ๆ เ พื่ อ ค้ น ห า แ ล ะ เ ก็ บ รายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ที่สังเกต โดยไม่ใส่ ความคิดเห็นของผู้สังเกตลงไป ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ บ่ ง เ ป็ น 3 ประเภท ไดแก 1)ข้อมูลลักษณะเชิงคุณภาพ 2)ข้อมูลเชิงปริมาณ 3)ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งทีศ่ ึกษา

2 การวัด ความหมาย การเลือกใช้เครื่องมือทาการวัดหาปริมาณ ของสิ่งต่างๆ ออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้ อย่ า งเหมาะสมและถู ก ต้ อ ง โดยมี ห น่ ว ย กากับเสมอ

3 การจาแนกประเภท

ความหมาย การจัดพวก จัดกลุ่มหรือเรียงลาดับวัตถุ หรือเหตุการณ์ออกเป็นประเภทต่าง ๆ โดย ใช้เกณฑ์ซึ่งอาจเป็นความเหมือน ความแตก ต่ า งหรื อ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง ที่ ก าลั ง ศึกษา

4

การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ กับสเปซ และสเปซกับเวลา ความหมาย สเปซของวัตถุ : ที่ว่างที่วัตถุนั้นครองที่ ซึ่ง จะมีรูปร่างเช่นเดียวกับวัตถุนั้น สเปซของ วัตถุมี 3 มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และความสูง แบ่งได้ 2 แบบคือ 1)การหาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ส เ ป ซ กั บ ส เ ป ซ เ ป็ น ก า ร ห า ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพื้ น ที่ ที่ วั ต ถุ ต่าง ๆ ครอบครองอยู่ 2)การหาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ส เ ป ซ กั บ เ ว ล า เ ป็ น ก า ร ห า ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ที่วัตถุ ครอบครอง เมื่อเวลาผ่านไป

5 การใช้จานวน

ความหมาย การนั บ จ านวนของวั ต ถุ แ ละการน าตั ว เลข แสดงจานวนที่นับได้ มาคิดคานวณโดยการ บวก ลบ คู ณ หาร หรื อ หาค่ า เฉลี่ ย หรื อ วิธีการคานวณอื่นๆ

6

การจัดกระทาและสื่อความหมายของข้อมูล

ความหมาย การนาข้อมูลจากการสังเกต การวัด และ การทดลอง มาจัดกระทาใหม่ เช่น การหา ความถี่ เรียงล าดั บ จัด แยกประเภท หรือ คานวณหาค่าใหม่ ที่สามารถแสดงให้ผู้อื่น เข้าใจความหมายของข้อมู ล ชุ ด นั้นได้ ดี ขึ้ น โ ด ย อ า จ แ ส ด ง ใ น รู ป ข อ ง แ ผ น ภู มิ แผนภาพ แผนผั ง ตาราง วงจร กราฟ สมการ และการเขียนบรรยาย

7 การลงความเห็นของข้อมูล ความหมาย การเพิ่ ม ความคิ ด เห็ น ให้ กั บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล โดยอาศัย พื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์เดิมมา ช่วย

8 การพยากรณ์

ความหมาย การท านายหรื อ การคาดคะเนค าตอบ ล่ ว ง ห น้ า โ ด ย อ า ศั ย ห ลั ก ฐ า นจ า ก ข้ อ มู ล ข้ อ เท็จ จริ ง หรื อ ปรากฏการณ์ ที่เ กิดซ้ าๆ กั น หลักการ กฎ หรือทฤษฎีที่มีอยู่แล้ว การพยากรณ์ ที่ แ ม่ น ย าเป็ น ผลมาจาก การสั ง เกตที่ ร อบคอบ การวั ด ที่ ถู ก ต้ อ ง การบั น ทึ ก และการจั ด กระท าข้ อ มู ล อย่ า ง เหมาะสม

9

การตั้งสมมติฐาน ความหมาย

การคิดหาคาตอบล่วงหน้า ก่อนจะกระทา การทดลองโดยอาศั ย การสั ง เกต ความรู้ ประสบการณ์ เ ดิ ม เป็ น พื้ น ฐาน ค าตอบที่ คิ ด ล่วงหน้าซึ่งยังไม่ทราบหรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมาก่อน สมมติฐานหรือคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้ามัก เป็ น ข้ อ ความที่ บ อกความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ตั ว แปรต้ น (ตั ว แปรอิ ส ระ) กั บ ตั ว แปรตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจถูกหรือผิดก็ได้ซึ่งจะ ทราบภายหลั ง การทดลองเพื่ อ หาค าตอบ สนับสนุน หรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้

10 การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ

ความหมาย การก าหนดความหมายและขอบเขตของ ตัวแปรที่อยู่ในสมติฐานที่ต้องการทดสอบให้ เข้ าใจตรงกั น และสามารถสั ง เกตหรื อ วัดได้

11 การกาหนดและควบคุมตัวแปร ความหมาย การบ่ ง ชี้ ตั ว แปรต้ น ตั ว แปรตาม และ ตั ว แปรที่ ต้ อ งควบคุ ม ในสมมติ ฐ านหนึ่ ง ๆ การควบคุมตัวแปรเป็นการควบคุมสิ่งอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น ถ้าหากไม่ควบคุมให้ เ ห มื อ น ๆ กั น จ ะ ท า ใ ห้ ผ ล ก า ร ท ด ล อ ง คลาดเคลื่อน

ตั ว แปรต้ น หรื อ ตั ว แปร ตั ว แปรตาม :สิ่ ง ที่ เ ป็ น อิ ส ระ : สิ่ ง ที่ เ ป็ น เหตุ ที่ ผลเนื่ อ งมาจากตั ว แปร ทาให้เกิดผลต่าง ๆ หรือ ต้ น เ มื่ อ ตั ว แ ป ร ต้ น สิ่ง ที่ เ ราต้อ งการทดลอง เปลี่ ย นแปลงไปตั ว แปร ดู ว่ า เ ป็ น ส า เ ห ตุ ที่ ต า ม จ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก่อให้เ กิดผลเช่น นั้น จริง ตามด้วย หรือไม่ ตั ว แปรที่ ต้ อ งควบคุ ม : สิ่ ง อื่ น ๆ นอกจากตั ว แปร ต้นที่ส่งผลกระทบต่อ การทดลอง ซึ่ง จะต้องควบคุม ให้เหมือนๆ กัน จึงจะทาให้ไม่เกิดความคลาดเคลื่อน ของการทดลองได้

12 การทดลอง ความหมาย ก า ร ท า ป ฏิ บั ติ ก า ร ด้วยวิธีใดๆ เพื่อหาคาตอบ หรือตรวจสอบสมมติฐ าน ที่ ตั้ ง ไว้ ทั ก ษะนี้ ป ระกอบ ด้ ว ย 3 กิ จ ก ร ร ม ห ลั ก ได้แก่ 1.การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผน ก่อนลงมือทดลองจริง เพื่อกาหนดวิธีการทดลอง ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารก าหนดและควบคุ ม ตั ว แปรและ เลือกใช้อุปกรณ์หรือสารเคมีต่าง ๆ ที่จะใช้ในการ ทดลองได้อย่างเหมาะสม 2. การปฏิ บั ติ ก ารทดลอง หมายถึ ง การลงมื อ ท า ปฏิบัติการทดลองจริง

3.การบันทึกผลการทดลอง หมายถึงการจดบันทึก ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการทดลอง ซึ่ ง อาจเป็ น ผลการ สังเกต สารวจวัด หรือวิธีอื่นๆ

13

การตีความหมายของข้อมูลและลงข้อสรุป ความหมาย การตี ค วามหมายข้ อ มู ล หมายถึ ง การ แปลความหมายหรือบรรยายลักษณะและ สมบัตขิ องข้อมูลที่มีอยู่ การลงข้อสรุป หมายถึง การสรุปความ สัมพันธ์ของข้อมูลจากการทดลองได้

14 การสร้างแบบจาลอง ความหมาย การนาเสนอข้อมูล แนวคิด ความคิดรวบ ยอด เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในรูปของแบบจาลอง ต่ า งๆ เช่ น กราฟ รู ป ภาพ ภาพเคลื่ อ นไหว วัสดุ สิ่งของ สิ่งประดิษฐ์ หุ่น เป็นต้น

บรรณานุกรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี . 2562. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นม.1 เล่ม 1 .กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2551). การสอนวิทยาศาสตร์โดย เน้นทักษะกระบวนการ. ก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์ , 8(2), 28-38.

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.