Data Loading...

หน่วยที่ 5 การช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐาน Flipbook PDF

หน่วยที่ 5 การช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐาน


804 Views
166 Downloads
FLIP PDF 1.08MB

DOWNLOAD FLIP

REPORT DMCA

ภาวะหัวใจหยุดเต้ นและหรือหยุดหายใจ เป็ นภาวะฉุ กเฉินที่ ต้องรี บช่ วยเหลื อผู้ป่วย ให้ ร อดชี วิ ต และกลับ มาด าเนิ นชี วิ ต ได้ ต ามปกติ ดัง นั ้น ผู้ใ ห้ ก ารช่ ว ยเหลื อ จ าเป็ น ต้องเรียนรู้และปฏิบตั ิ การช่วยฟื้ นคืนชีพให้ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

โดย ครูนันทพร บำรุ งผล รายวิชา พ32102 สุ ขศึกษาและพลศึกษา 4

ปฏิบัติการช่ วยฟื้ นคืนชีพ ความหมายของปฏิบัติการช่ วยฟื้ นคืนชีพ ปฏิ บ ตั ิ การช่ ว ยฟื้ นคื น ชี พ หรือ การช่ ว ยฟื้ นคื นชี พ หมายถึ ง การช่ วยเหลื อ ผู้ที่ ห ยุด หายใจหรือ หัวใจหยุดเต้ น ให้ มีการหายใจและการไหลเวี ยนเลือดกลับคืนสู่สภาพปกติ เพื่อป้ องกันไม่ให้ เนื้ อเยื่อ ได้ รบั อัน ตรายจากการขาดออกซิเ จนอย่างถาวร โดยเฉพาะ เนื้ อเยื่อสมอง ซึ่งอาจทาให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้

ภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้ น ภาวะหยุ ด หายใจ (Respiratory Arrest) และภาวะหั ว ใจหยุ ด เต้ น (Cardiac Arrest) เป็ นภาวะที่ มีการหยุดทางานของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจและการไหลเวียนเลือด ส่ ว นมากมักจะพบว่ า มี ก ารหยุด หายใจก่ อ นเกิด ภาวะหัว ใจหยุ ด เต้ น และถ้ า ไม่ ไ ด้ ร บั การช่วยเหลือที่ถกู ต้อง จะทาให้เสียชีวิตได้ สาเหตุของการหยุดหายใจ ๑. ทางเดินหายใจอุดตันจากสาเหตุต่างๆ ๒. มีการสูดดมสารพิษ แก๊สพิษ ควันพิษ ๓. การถูกกระแสไฟฟ้ าแรงสูงดูด ๔. การจมน้า ๕. การบาดเจ็บที่ทรวงอก ๖. โรคระบบประสาท

ภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้ น ๗. การได้รบั สารพิษจากแมลงสัตว์กดั ต่อย ๘. การได้รบั ยากดศูนย์ควบคุมการหายใจ ๙. โรคหัวใจ ๑๐.มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ และมีภาวะหัวใจวาย สาเหตุของหัวใจหยุดเต้น ๑. หัวใจวายจากโรคหัวใจ ๒. มีภาวะช็อกเกิดขึน้ อย่างเฉี ยบพลัน ๓. ทางเดินหายใจอุดกัน้ ๔. การได้รบั ยาเกินขนาดหรือการแพ้

ขั้นตอนการช่ วยฟื้ นคืนชีพที่ถูกวิธี ในภาวะวิ กฤติ การช่ ว ยฟื้ นคื น ชี พ อย่ า งถูกวิ ธี จ ะท าให้ ผ้ปู ่ วยที่ ห มดสติ นั น้ สามารถ รอดชีวิตและกลับมาดาเนินชีวิตได้ ขันตอนการช่ ้ วยเหลือผูป้ ่ วยที่หมดสติ ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้

จัดท่ าผู้ป่วยให้ นอนหงายราบบนพื้นแขง

ถ้ าหมดสติ ไม่ หายใจหรื อหายใจลาบากยกมื อ หรื อโทรศัพท์ ขอความช่ วยหลือที่ ๑๖๖๙

ขั้นตอนการช่ วยฟื้ นคืนชีพที่ถูกวิธี ในภาวะวิ กฤติ การช่ ว ยฟื้ นคื น ชี พ อย่ า งถูกวิ ธี จ ะท าให้ ผ้ปู ่ วยที่ ห มดสติ นั น้ สามารถ รอดชีวิตและกลับมาดาเนินชีวิตได้ ขันตอนการช่ ้ วยเหลือผูป้ ่ วยที่หมดสติ ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้

สั งเกตการหายใจและคลาชีพจรที่คอ อย่ างรวดเรวไม่ เกิน ๑๐ วินาที

ขั้นตอนการช่ วยฟื้ นคืนชีพที่ถูกวิธี ลาดับขัน้ ตอนในการช่วยฟื้ นคืนชีพ C-A-B - เริ่มจากกดหน้ าอก (C-Circulation) - เปิดทางเดินหายใจ (A-Airway) - ช่วยหายใจ (B-Breathing) C : Circulation ๑) จัดให้ ผ้ปู ่ วยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง ถ้ าพื้นอ่ อนนุ่มให้ สอดไม้กระดานแข็ง ใต้ลาตัว ๒) วัดตาแหน่ งที่ เหมาะสาหรับการนวดหัวใจ โดยใช้ นิ้วชี้ และนิ้วกลางข้างที่ ถนัด จากขอบชายโครงล่างของผูป้ ่ วยขึน้ ไปจนถึงปลายกระดูกหน้ าอก วัดเหนื อปลายกระดูก หน้ าอกขึ้นมา ๒ นิ้วมือ แล้วใช้ สนั มือข้างที่ ไม่ถนัด วางบนตาแหน่ งดังกล่าวและใช้ สนั มือข้างที่ ถนัดวางทับลงไป เกี่ ยวนิ้วมือให้ นิ้วมือที่ วางทับแนบชิดในร่ องนิ้วมือของมือ ล่าง ยกปลายนิ้วขึน้ จากหน้ าอก

การกดหน้ าอก (Circulation)

การกดหน้ าอก (Circulation)

ขั้นตอนการช่ วยฟื้ นคืนชีพที่ถูกวิธี A : Airway หมายถึง การเปิดทางเดินหายใจให้ โล่ง ซึ่ งเป็ นการปฏิบตั ิ การขัน้ แรก ที่ต้องทาอย่างรวดเร็ว - วางฝ่ ามือบนหน้ าผากผู้ป่วยและกดลง นิ้วชี้ และนิ้วหัวแม่มือพร้อมที่ จะเอื้อมมา อุดจมูกเมื่อจะผายปอด มือล่างใช้ นิ้วกลางและนิ้วชี้ เชยคางขึ้น ซึ่ งวิธีนี้จะสามารถใช้ ได้ ในผูบ้ าดเจ็บที่มีกระดูกสันหลังส่วนคอหัก - ใช้มือกดหน้ าผากเหมือนวิธีแรก ส่วนมืออีกข้างหนึ่ งช้อนใต้คอขึ้น วิธีนี้ทาได้ง่าย แต่ไม่ควรทาในผูท้ ี่ได้รบั บาดเจ็บที่กระดูกสันหลังเพราะจะเกิดอันตรายต่อไขสันหลัง - ใช้สนั มือทัง้ สองข้างวางบนหน้ าผากกดลง แล้วใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางจับกระโดงคาง (Mandible) ของผู้ป่วยขึ้นไปทางข้างหน้ า ซึ่ งผู้ทา CPR นัง่ คุกเข่าอยู่ทางศี รษะของผู้ป่วย ซึ่งวิธีนี้ทาได้ยาก แต่ช่วยให้ทางเดินหายใจโล่งดี ถ้าการหยุดหายใจเกิดจากลิ้นตกไปอุด ตันทางเดินหายใจผู้ป่วยจะหายใจได้เอง และในขัน้ ตอนการเปิดทางเดินหายใจนี้ ควรใช้ เวลา ๔-๑๐ วินาที

ขั้นตอนการช่ วยฟื้ นคืนชีพที่ถูกวิธี

ขั้นตอนการช่ วยฟื้ นคืนชีพที่ถูกวิธี B : Breathing หมายถึ ง การช่ ว ยหายใจ เนื่ อ งจากการหายใจหยุ ด ร่ า งกายจะมี ออกซิเจนคงอยู่ในปอดและกระแสเลือด แต่ไม่มีสารองไว้ใช้สามารถทาได้หลายวิธี คือ ด้วยการเป่ าปาก (Mouth to mouth) เป่ าจมูก (Mouth to nose)

๕ ขั้นตอนของห่ วงโซ่ แห่ งการเอาตัวรอด (Chain of Survival)

สิ่งสาคัญที่ทกุ คนต้องจาเพื่อการช่วยฟื้ นคืนชีพขัน้ พืน้ ฐาน ได้แก่ เรียกคนช่วยอย่างรวดเร็ว แจ้งทีมช่วยชีวิตอย่างรวดเร็วโทร ๑๖๖๙ เริ่มปฏิบตั ิ การช่วยชี วิตในทันที โดยการกดหน้ าอกให้มีประสิทธิภาพช่ วยเพิ่มอัตรา รอดชีวิตได้ ๒-๓ เท่า ไม่ต้องทาการประเมินการหายใจของผูป้ ่ วย เมื่อมีข้อบ่งชี้ให้การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้ าให้รวดเร็วที่สดุ ภายใน ๓-๕ นาที ปฏิบตั ิ การช่วยชีวิตขัน้ สูงอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ให้การดูแลหลังจากช่วยฟื้ นคืนชีพอย่างใกล้ชิดและมีประสิทธิภาพ

ข้ อควรระวังในการปฏิบัติการช่ วยฟื้ นคืนชีพที่ไม่ ถูกวิธี วางมือผิดตาแหน่ งทาให้ซี่โครงหัก กระดูกที่ หกั ทิ่มโดนอวัยวะสาคัญ เช่น ตับ ม้าม เกิดการตกเลือดถึงตายได้ การกดด้วยอัตราเร็วเกินไป เบาไป ถอนแรงหลังกดไม่หมด ทาให้ ปริมาณเลือดไป ถึงอวัยวะต่างๆ ที่สาคัญได้น้อย ทาให้ขาดออกซิเจน การกดแรงและเร็วมากเกินไป ทาให้ กระดูกหน้ าอกกระดอนขึ้น -ลงอย่างรวดเร็ว หัวใจชา้ เลือดหรือกระดูกหักได้ การกดหน้ าอกลึกเกินไป ทาให้หวั ใจชอกชา้ ได้ การเปิดทางเดินหายใจไม่เต็มที่ เป่ าลมมากเกินไป ทาให้ ลมเข้ากระเพาะอาหาร เกิดท้องอืด อาเจียน ลมเข้าปอดไม่สะดวก

สรุ ป การช่ วยฟื้ นคื นชี พเริ่มจากการกดหน้ าอก นวดหัวใจเพื่อช่ วยให้ เกิดเลือดไหลเวี ยน เปิดทางเดินหายใจให้ โล่ง และช่ วยหายใจตามลาดับ เน้ นที่ การกดหน้ าอกแรงและเร็ว ด้วยอัตราอย่างน้ อย ๑๐๐ ครัง้ ต่ อนาที กดให้ ลึกอย่างน้ อย ๒ นิ้ว ปล่อยให้ อกดันตัวสุด หลังการกดแต่ ละครัง้ ลดการหยุดกดหน้ าอกให้ น้อยที่ สุด หรือกดหน้ าอกต่ อเนื่ องกัน ให้ ได้มากที่ สุด และหลีกเลี่ยงการช่ วยหายใจมากเกินไป พบว่าระยะเวลาที่ รวดเร็วและ ความพร้อมของผูช้ ่วยฟื้ นคืนชีพ มีผลต่อการรอดชีวิตและกลับมาดาเนินชี วิตได้ตามปกติ