Data Loading...
Abstract Senior Project 2020 Flipbook PDF
Abstract Senior Project 2020
131 Views
42 Downloads
FLIP PDF 1001.84KB
สาส์นจากคณบดี โครงการเสริมทักษะการวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ๓๑๐๐๖๑๕ โครงการวิจัยปริญญาบัณฑิต (senior project) ซึ่ ง ใน ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕ ๖๓ มี ก าหนดในวั น ที่ ๒ ๖ เมษายน พ .ศ. ๒๕ ๖ ๔ ส าหรั บ ว่ า ที่ บั ณ ฑิ ต สั ต วแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต รุ่ น ที่ ๗๙ เนื่ อ งจากสถานการณ์ ก ารแพร่ร ะบาดของโรค COVID19 ทั่ ว โลก (Global Pandemic) ทาให้การนาเสนอของนิสิตจึงต้องมีการปรับตัวมาเป็นการนาเสนอแบบ online ต่อเนื่องจากปีที่แล้ว เป็น ครั้งที่ ๒ ผ่านทาง Microsoft teams โครงการเสริ ม ทั ก ษะการวิ จั ย ของคณะสั ต วแพทยศาสตร์ จุ ฬ าฯ ถื อ ว่ า เป็ น โครงก ารที่ มี ก ารริ เริ่ ม ที่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เป็นที่แรกของการเรียนการสอนสัตวแพทย์ไทย และได้เป็นรากฐานสร้างความเข้มแข็ง ให้กับบัณฑิตสัตวแพทย์ จุฬาฯ เสมอมาในด้านงานวิจัย ซึ่งนามาสู่วิสัยทัศน์ของคณะฯ ที่ว่า “Visionary Research in Practice” จากการน าเอาความรู้ที่ ได้จากการวิจัยมาใช้ในคลิ นิกปฏิบัติ เป็ นการเพิ่มประสิท ธิภ าพงานบริการ วิชาการที่ได้นาองค์ความรู้จากการวิจัยมาสู่การปฏิบัติ ให้ดียิ่งขึ้น สุดท้ายนี้อาจารย์ขออานวยพรให้บัณฑิตสัตวแพทย์ รุ่นที่ ๗๙ ทุกท่านประสบความสาเร็จในการดารงชีวิต ในยุค digital และสามารถผ่านวิกฤติของโรค COVID19 ไปได้ อย่างดี มีความสุขกับการปฏิบัติวิชาชีพสัตวแพทย์ในการดารงชีวิตและเป็นที่พึ่งของครอบครัวและของสังคมตลอดไป CU Vet: Responsible for a Better Life & a Better Society ด้วยความปรารถนาดี
ศ. น.สพ. ดร. รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช คณบดี ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
i
กาหนดการประชุมเสนอผลงานการศึกษา รายวิชา โครงการวิจัยปริญญาบัณฑิต (Senior Project 3100615) คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันจันทร์ที่ 26 เมษายน 2564 โดยระบบออนไลน์ (Microsoft Team: Code 44ti9of) 8.45-9.00 น. เปิดการประชุม – คณบดี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธาน : อ.น.สพ.ดร.ธีรวุฒิ เนตรอาพันธ์ 9.00-9.15 น. แบบจาลองสุนัขเสมือนจริงสาหรับการศึกษาเสียงหัวใจ เสียงฟู่ของหัวใจ และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ หน้า 1 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.น.สพ.ดร. อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ : น.ส.อินทุอร จิรเรืองตระกูล น.ส.ธัญทิพ พงษ์ไพบูลย์ น.ส.มณีนุช หอมศรีประเสริฐ น.ส.ธีอนุตรีย์ แต้พัฒนสกล 9.20-9.35 น. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดและโรคหัวใจในแมว หน้า 3 อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.สพ.ญ.ดร. สิริลักษณ์ สุรเชษฐพงษ์ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ : น.ส.ณัชชา ชอบสุข น.ส.ปณิตา พงศ์ประสิทธิ์ น.ส.แพรวพรรณ พ่วงพลอย น.ส.มนกานต์ บุนนาค น.ส.ลักษิกา กีรติวิทยานันท์ 9.40-9.55 น. ความสัมพันธ์ของค่าเคมีในเลือดและค่าทางโลหิตวิทยาในแมวที่ติดเชื้อ Platynosomum fastosum ในธรรมชาติ หน้า 5 อาจารย์ที่ปรึกษา: ผศ.สพ.ญ.ดร. วรพร สุขมุ าวาสี อ.น.สพ.ดร. วชิรา หุ่นประสิทธิ์ อ.สพ.ญ.ดร. สถิตภัค อัศวราชันย์ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: นายฐิติพงศ์ สวายสมสีกุล น.ส.ณัฏฐา สุคนธพันธ์ น.ส.ณัฏฐิยา จันพิชัยโกศล น.ส.ดลพร วงศ์วรวิสิทธิ์ น.ส.สิริวิมล มะระวัง 10.00-10.15 น. สัมประสิทธิ์ย่อยได้ของแคลเซียมจากกระดูกปลาในอาหารสาเร็จรูปชนิดเปียกสาหรับสุนัข หน้า 7 อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.สพ.ญ.ดร. อุตรา จามีกร นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: นายกฤติน ธีระสวัสดิ์ น.ส.ณัฐณิชา สุวรรณธนานนท์ น.ส.พุทธชาติ สุทัศนทรวง น.ส.สุคณฑชาติ ทองแสน 10.20-10.35 น. การศึกษาความปลอดภัยของสารสกัด EAB 277 จากหอยแมลงภู่นิวซีแลนด์ในสุนัข หน้า 9 อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.สพ.ญ.ดร. อุตรา จามีกร นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.พชรพร หลวงสุภา นายพานุพงษ จงยิ่งยศ น.ส.สิรภัทร โกวิชัย น.ส.สุธามาศ คล้ายเหล็ง 10.40-10.55 น. ผลของการเสริมโพรไบโอติก (บาซิลลัส ไลเคนนิฟอมิส) ต่อคุณลักษณะการเจริญเติบโตและสัณฐานวิทยาทาง หน้า 11 จุลกายวิภาคของลาไส้เล็กส่วนกลางในไก่เนื้อ อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.น.สพ.ดร. จักรกริศน์ เนื่องจานงค์ รศ.น.สพ.ดร. กฤษ อังคนาพร นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: นายณรธีร์ กุลธารง นายณัฐนนท์ พรหมทวี นายภัทรกร สง่าเจริญกิจ นายจตุรภัทร สายนุช ประธาน : อ.สพ.ญ.ดร.ศิรินันท์ พิสมัย 11.00-11.15 น. เว็บแอปพลิเคชันรวบรวมและค้นหาสัตว์เลี้ยงจากสถานที่พักพิงสัตว์จรจัด หน้า 13 อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.สพ.ญ.ดร. กฤชพร กระดังงา นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.กมลวรรณ เส้งเสน น.ส.วณิชกานต์ ใจบุญ น.ส.พิมพกานต์ เสียงเรืองแสง น.ส.พิมพ์รัมภา เก้าเอีย้ น 11.20-11.35 น. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดูกที่ถกู เก็บรักษาด้วยวิธีที่ต่างกัน 2 วิธี โดยการทดสอบเชิงกลในกระดูกกระต่าย หน้า 15 อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.สพ.ญ.ดร. ชาลิกา หวังดี ผศ.ดร. ไพรัช ตั้งพรประเสริฐ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.ญาณิศา เอกวรพงศ์ น.ส.ปานแก้ว วรรณมาลา น.ส.ภัทรภร สมพงษ์ น.ส.อชิรญาณ์ สุขอนนท์ 11.40-11.55 น. การเปรียบเทียบผลการทากายภาพบาบัดโดยวิธีการกระตุ้นไฟฟ้าและเลเซอร์ในสุนัขพันธุ์เล็กที่ได้รับการผ่าตัดรักษา หน้า 17 โรคสะบ้าเคลื่อนเข้าทางด้านใน อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.สพ.ญ.ดร. ชาลิกา หวังดี สพ.ญ. ไอริณ ขวัญอโนชา นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.จุฬารัชน์ มีชัย น.ส.พิจิตรา สุขสมบูรณ์วงศ์ น.ส.อรจิรา หมีทอง น.ส.สุชานันท์ อร่ามศรีประเสริฐ นายอรรถพล เตรียมพิทักษ์ 11.55-13.00 น. พักกลางวัน 13.00-13.15 น. การศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาการหายของกระจกตาชั้นลึกอักเสบแบบมีแผลหลุมในสุนัขระหว่างการรักษา หน้า 19 ทางยาอย่างเดียวกับการรักษาทางยาร่วมกับการทาแผ่นหนังตาทีส่ าม อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.สพ.ญ.ดร. นลินี ตันติวนิช อ.น.สพ.ดร. วชิรา หุ่นประสิทธิ์ สพ.ญ. รจิต โลหะเจริญทรัพย์ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.ธนากนก งามผ่องใส น.ส.กนกพิชญ์ อิ่มจรูญ น.ส.ณัฐวดี ภิญโญสนิท น.ส.พิมพ์ภิกา ศรีเลิศ 13.20-13.35 น. การประเมินตาแหน่งการเก็บตัวอย่างสาหรับการเพาะเชื้อแบคทีเรียที่สามารถพิสูจน์สาเหตุของการติดเชื้อระบบ หน้า 21 ทางเดินปัสสาวะในสุนัขที่มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.สพ.ญ.ดร. ณิโคล ศิริโศภิษฐ์ เมห์ล ผศ.น.สพ.ดร.ภัทรรัฐ จันทร์ฉายทอง นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.จันทมณี จันทรศิริ น.ส.ณัฐนิช วิศิษฐ์กิจการ น.ส.นันทพัทธ์ ปฤษฎางค์บตุ ร น.ส.พิชญ์สินี ตันติวิมลขจร 13.40-13.55 น. การปนเปื้อนแบคทีเรียกลุ่ม Enterobacterales และ Acineobacter carbapenemase ในหน่วยสัตว์ปว่ ยวิกฤติ หน้า 23 baumannii ที่สร้างเอนไซม์ อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.น.สพ.ดร.ภัทรรัฐ จันทร์ฉายทอง รศ.น.สพ.ดร.ณุวีร์ ประภัสระกูล ผศ.สพ.ญ.ดร.สุกัลยา ฤทธิกุลประเสริฐ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.เกวลี รุ่งโรจน์ น.ส.ชนาธาร ทรัพย์พจน์ น.ส.ชนิภรณ์ ภาคีวัฒน์ นายชวิน ลีลาภสวัสดิ์ น.ส.ภัทรานิษฐ์ สิทธิวรกานต์
ii
ประธาน : อ.น.สพ.ดร.ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ 14.00-14.15 น. การแปลงเพศลูกปลานิลด้วยฮอร์โมนอนุภาคนาโน หน้า 25 อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.น.สพ.ดร. นพดล พิฬารัตน์ อ.ดร. ธีระพงศ์ ยะทา นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.จิราพร ดอนเลย น.ส.นันทนัช ยศสอน นายสุกฤษฎิ์ รสเติม น.ส.อทิติยา เอี่ยมอ่อน 14.20-14.35 น. จุลกายวิภาคศาสตร์ของระบบกระเพาะอาหารและลาไส้และต่อมที่เกี่ยวข้องของฉลามวอบบีกองวัยอ่อน หน้า 27 (Eucrossorhinus dasypogon) อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.สพ.ญ.ดร. นันทริกา ชันซื่อ ผศ.น.สพ.ดร. ทิลดิสร์ รุ่งเรืองกิจไกร ผศ.น.สพ.ดร. วุฒิชัย กลมเกลียว นิสิตผู้ดาเนินโครงการ : นายธนบูรณ์ เกตุชัยมงคล น.ส.ธัญญรัตน์ สุขเรือน น.ส.เภตรา หลักทอง 14.40-14.55 น. การศึกษาย้อนหลังของการสัมผัสเชื้อ peste des petits ruminants virus ในสัตว์เคี้ยวเอือ้ งขนาดเล็กในภาค หน้า 29 ตะวันตกของประเทศไทย อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.น.สพ.ดร. นวพล เตชะเกรียงไกร นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.มานิตา เพ็ญสุต น.ส.วริศรา แก้วเกตุ น.ส.ศุภัชฌา มหาวัฒนะ น.ส.อุษากรณ์ เขม้นกิจ 15.00-15.15 น. การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบตั ิด้านการใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มโคนมรายย่อย หน้า 31 อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.น.สพ.ดร. กิตติศักดิ์ อัจฉริยะขจร ผศ.น.สพ. ธนศักดิ์ บุญเสริม นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.ธมลวรรณ ลอยลาวัลย์ น.ส.นวภัทร ลีลาวิวัฒน์ น.ส.นิชนันท์ แดงเนียม น.ส.เยาวพา บุญเศษ นายพงศกร วิริยะภราดร 15.20-15.35 น. การศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงของเชื้ออีโคลัยที่ผลิตเอนไซม์ทดี่ ื้อต่อยากลุ่มเบต้าแลคแตมและแอมพ์ซีในลูกโคนม หน้า 33 และน้านมถังรวมของฟาร์ม อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.น.สพ. ธนศักดิ์ บุญเสริม รศ.น.สพ.ดร. กิตติศักดิ์ อัจฉริยะขจร นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.กรณิศ รักเกียรติ น.ส.ชัญญา อาชาไกรสร น.ส.พัสวี พัฒนสมบัติจินดา น.ส.รวินันท์ มั่นเหมาะ น.ส.ศศินา เอกศิรสุวรรณ 15.40-15.55 น. การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพเครื่องมือวินิจฉัยภาวะเยือ่ บุมดลูกอักเสบหลังคลอดในโค หน้า 35 อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.น.สพ.ดร.ธีรวัฒน์ สว่างจันทร์อุทัย ผศ.น.สพ.ดร.ศิริวัฒน์ ทรวดทรง ผศ.สพ.ญ.ศริยา อัศวกาญจน์ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.เกวลิน จาปาสัก น.ส.ณัทชาภา รัตนาภรณ์ น.ส.ทัชช โฆษิตสกุลชัย น.ส.นิธิพร คานาน ประธาน : อ.สพ.ญ.ดร.เบญจพร ลิ้มเจริญ 16.00-16.15 น. ผลการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้ออีโคลัยชนิดเชื้อตายในฟาร์มสุกร หน้า 37 อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.น.สพ.ดร. พรชลิต อัศวชีพ นางสุกุมา สามงามนิ่ม นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: นายคัชฏภูมิ ศรีอภิรมย์ นายจินดิต งามวงศ์รณชัย นายเติมศักดิ์ วงเวียน นายภาสวิชญ์ ชิตอรุณ 16.20-16.35 น. ความแตกต่างทางพันธุกรรมของเชื้อพาสทูเรลลา มัลโตซิดา ที่แยกได้จากสุกร อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.น.สพ.ดร. พรชลิต อัศวชีพ นางสุกุมา สามงามนิ่ม หน้า 39 นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: นายกฤตนู จริยานุเคราะห์ นายจิตรภณ สุธีจิตสิริ นายพิริยะ สุมณีบุตร นายภิพิชญ์ วจนะรักษ์ นายภูพัทธ์ สิทธิภูมิมงคล 16.40-16.55 น. ผลการเสริมเปปไทด์ต้านจุลชีพในอาหารต่อสมรรถภาพแม่สุกรท้อง และสุกรอนุบาล หน้า 41 อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.น.สพ.ดร. พรชลิต อัศวชีพ นางสุกุมา สามงามนิ่ม นิสิตผู้ดาเนินโครงการ : นายฉัตรวัฒน์ ตระกลลักษณา นายธเนศ ปิ่นพรม นายนนทปรีชา บุญดี นายพุฒิพงศ์ ชื่นเพ็ชร 17.00-17.15 น. การเสริมโปรตีนจากมันฝรั่งหมักในสุกรอุ้มท้องระยะท้ายเพื่อเพิ่มคุณภาพและปริมาณน้านมเหลืองและน้านม หน้า 43 ลดอัตราก่อนตายก่อนหย่านมและเพิม่ อัตราการเจริญเติบโตของลูกสุกร อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.สพ.ญ.ดร. มรกต นันทไพฑูรย์ ศ.น.สพ.ดร. เผด็จ ธรรมรักษ์ ผศ.น.สพ.ดร. นัทธี อ่าอินทร์ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ: น.ส.คคนางค์ กุระชน น.ส.พรพิมล จตุเทน น.ส.พันธกานต์ ป้องขวาเลา นายธนวัฒน์ ตางาม 17.20-17.35 น. การเสริมน้ามันสกัดจากเปลือกอบเชยเทศในอาหารแม่สุกรเลี้ยงลูกเพือ่ เพิ่มปริมาณอาหารที่แม่สุกรกินได้หลังคลอด หน้า 45 ปริมาณน้านมของแม่สุกร และอัตราการเจริญเติบโตของลูกสุกร อาจารย์ที่ปรึกษา : ศ.น.สพ.ดร.เผด็จ ธรรมรักษ์ อ.สพ.ญ.ดร.มรกต นันทไพฑูรย์ น.สพ.พชระ เพียรอดวงษ์ น.ส.จันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร ณัฐชนน ดาเนียม นิสิตผู้ดาเนินโครงการ : นายคมน์สิทธิ์ สิงห์ดารงค์ น.ส.ประดับดาว ตาตะนันทน์ น.ส.ปวริศา จงไพศาล นายอิทธิพงษ์ ขาทวี 17.40-17.55 น. คุณภาพน้าเชื้อของพ่อสุกรสัมพันธ์กับปริมาณไอจีเอฟวันในซีรั่มและการเสริมโปรตีนจากมันฝรั่งหมัก หน้า 47 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.น.สพ.ดร. นัทธี อ่าอินทร์ อ.สพ.ญ.ดร. มรกต นันทไพฑูรย์ ศ.น.สพ.ดร. เผด็จ ธรรมรักษ์ นิสิตผู้ดาเนินโครงการ : น.ส.ทศพร บุญบริสุทธิ์ น.ส.ภัคธีมา โตคุณาลัย น.ส.เมธินี สุนาวิน น.ส.วิรัลพัชร บุณยรัตพันธุ์ นายศตวรรษ สกุลวรรณ์บวร ปิดการประชุม
iii
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยปริญญาบัณฑิต (Senior Project - 3100615) ประจาภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2563 1. ศ.สพ.ญ.ดร.สมพร เตชะงามสุวรรณ
13. ผศ.น.สพ.ดร.ธีรวัฒน์ ธาราศานิต
2. รศ.น.สพ.ดร.เกรียงยศ สัจจเจริญพงศ์
14. ผศ.น.สพ.ดร.ภัทรรัฐ จันทร์ฉายทอง
3. รศ.น.สพ.ดร.กิตติศักดิ์ อัจฉริยะขจร
15. ผศ.น.สพ.ดร.ศิริวัฒน์ ทรวดทรง
4. รศ.น.สพ.ดร.สุดสรร ศิริไวทยพงศ์
16. ผศ.น.สพ.ธนศักดิ์ บุญเสริม
5. รศ.สพ.ญ.ดร.อุตรา จามีกร
17. ผศ.สพ.ญ.ดร.แนน ช้อยสุนิรชร
6. รศ.สพ.ญ.ดร.สิริลักษณ์ สุรเชษฐพงษ์
18. ผศ.สพ.ญ.ดร.อัญญรัตน์ ต้นธีรวงศ์
7. รศ.สพ.ญ.ดร.สุกัลยา ฤทธิกุลประเสริฐ
19. ผศ.สพ.ญ.ดร.อนงค์นาฏ อัศวชีพ
8. ผศ.สพ.ญ.ภาวนา เชื้อศิริ
20. อ.น.สพ.ดร.ธีรวัฒน์ สว่างจันทร์อุทัย
9. ผศ.น.สพ.ดร.อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์
21. อ.น.สพ.ดร.เกษม รัตนภิญโญพิทักษ์
10. ผศ.น.สพ.ดร.นัทธี อ่าอินทร์
22. อ.น.สพ.ดร.รุ่งธรรม เกษโกวิท
11. ผศ.ดร.นลินี อิ่มบุญตา
23. อ.น.สพ.ดร.ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์
12. ผศ.ดร.หทัยรัตน์ พลายมาศ
24. อ.สพ.ญ.ดร.ฐนิดา เหตระกูล
25. อ.น.สพ.ดร.วชิรา หุ่นประสิทธิ์
26. อ.สพ.ญ.ดร.เพราพิลาส ภักดีดินแดน
27. อ.สพ.ญ.ดร.ณทยา เจริญวิศาล
33. อ.สพ.ญ.ดร.สร้อยสุดา โชติมานุกูล
28. อ.สพ.ญ.ดร.เบญจพร ลิ้มเจริญ
34. อ.สพ.ญ.ดร.อรพรรณ จาตุรกาญจน์
29. อ.สพ.ญ.ดร.ประภาพร จงวัฒนาไพศาล
35. อ.สพ.ญ.ดร.อารยา รัตนกถิกานนท์
30. อ.น.สพ.ดร.ธีรวุฒิ เนตรอาพันธ์
36. อ.สพ.ญ.ดร.จุฑามาส เบ็ญจนิรัตน์
31. อ.สพ.ญ.ดร.มรกต นันทไพฑูรย์
37. อ.สพ.ญ.ดร.นถพัฒน์ บุนนาค
32. อ.สพ.ญ.ดร.พรหมพร รักษาเสรี
iv
แบบจาลองสุนัขเสมือนจริง สาหรับการศึกษาเสียงหัวใจ เสียงฟู่ของหัวใจ และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ อินทุอร จิรเรืองตระกูล1 ธัญทิพ พงษ์ไพบูลย์1 มณีนุช หอมศรีประเสริฐ1 ธีอนุตรีย์ แต้พัฒนสกล1 อนุศักดิ์ กิจถาวรรัตน์2 การฟังเสียงหัวใจ ถือเป็นวิธีการพื้นฐานและมีประโยชน์ ในการตรวจหาความผิดปกติของลิ้นหัวใจในสุนัขที่มีอาการ ของโรคลิ้นหัวใจเรื้อรัง เช่น โรคลิ้นหัวใจไมทรัลเสื่อม และ โรคลิ้นหัวใจไตรคัสปิดรั่ว ซึ่งเป็นโรคที่พบได้บ่อยในสุนัขพันธุ์ขนาด กลางถึงขนาดเล็กที่มีอายุมาก ในสัตว์ที่มีลิ้นหัวใจรั่วจะพบการเกิดเสียงฟู่ของหัวใจ โดยเสียงที่ผิดปกตินี้สามารถเกิดและตรวจ พบได้ก่อนที่จะมีอาการแสดงทางคลีนิค ดังนั้นการตรวจหัวใจด้วยวิธีการฟัง เสียงหัวใจโดยสัตวแพทย์อย่างเป็นประจาจึงมี ความสาคัญในการตรวจคัดกรองเบื้องต้นเพื่อหาความผิดปกติของหัวใจ นอกจากนี้การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจก็เป็นอีกเครื่องมือ ที่มีความสาคัญสาหรับการวินิจฉัยจังหวะการเต้นของหัวใจ ดังนั้นทักษะการฟังเสียงหัวใจและการตรวจวัด -แปลผลคลื่นไฟฟ้า หัวใจจึงเป็น ทักษะที่สาคัญ และจาเป็ นสาหรับสัตวแพทย์เพื่ อใช้ในการตรวจและวินิ จฉัยความผิดปกติของหัวใจ การสร้าง แบบจาลองสุนัขเสมือนจริงนี้ขึ้นมาจึงเป็นนวัตกรรมที่ใช้เพื่อช่วยในการพัฒนาทักษะการฟังเสียงหัวใจและการตรวจวัด-แปลผล คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในแบบจาลองสุนัขเสมือนจริงนี้มีการบรรจุเสียงหัวใจที่มีการบันทึกไว้ในหน่วยความจาภายใน โดยเสี ยงหัวใจ ดังกล่าวประกอบด้วยเสียงหั วใจปกติ และเสียงหั วใจที่ ผิดปกติคือเสียงฟู่ระดั บต่างๆ ซึ่งสามารถฟั งได้โดยการใช้หู ฟังทาง การแพทย์กดลงไปที่ ต าแหน่ งการฟั งลิ้น หั ว ใจ ในส่ วนของการตรวจวัด คลื่น ไฟฟ้ า หั วใจ สามารถท าได้ โดยการต่ อสายวั ด คลื่นไฟฟ้าหัวใจเข้ากับจุดเชื่อมต่อที่ ขาทั้งสี่ข้างของแบบจาลอง คลื่นไฟฟ้าหัว ใจจะถูกสร้างจากเครื่องกาเนิดคลื่นไฟฟ้าหั วใจ และสามารถแปลผลสัญญาณออกมาเป็นกราฟคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้โดยการใช้เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ผลของการตรวจสอบ ความถูกต้องโดยสัตวแพทย์เชี่ยวชาญด้านหัวใจ 3 ท่าน มีความเห็นตรงกันว่าคุณภาพเสียงควรมีการพัฒนาคุณภาพ นอกจากนี้ มีเรื่องอื่นๆที่สาคัญรองลงมาที่ควรได้รับการพัฒนา เช่น ตาแหน่งของการฟังลิ้นหัวใจ การสั่นเลียนแบบการสั่นของหัวใจเมื่อมี ภาวะเสียงฟู่ระดับ 5 และ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ประดิษฐ์แบบจาลอง โดยสรุปแล้วแบบจาลองสุนัขเสมือนจริงช่วยในการพัฒนาทักษะการฟังเสียงหัวใจและการแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ทาให้สามารถฟังเสียงหัวใจได้ในตาแหน่งต่างๆได้อย่างถูกต้อง สามารถแยกเสียงหัวใจที่ปกติและผิดปกติได้ รวมไปถึงสามารถ แปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างแม่นยามากขึ้น นอกจากนี้การฝึกกับแบบจาลองสุนัขเสมือนจริงสามารถลดการใช้สัตว์จริงเพื่อการ ฝึกฝนได้ ซึ่งเป็นการลดจานวนการใช้สัตว์และลดการเกิดความเจ็บปวดหรือความเครียดในสัตว์ที่ถูกนามาใช้ในการฝึก
คาสาคัญ: คลื่นไฟฟ้าหัวใจ เสียงหัวใจ แบบจาลอง เสียงฟู่ของหัวใจ สุนัขเสมือนจริง 1
นิสิตชั้นปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1
Realistic Dog Model of Heart Sounds, Murmurs and Electrocardiograms for Education Intuon Jiraruangtrakul¹ Thunthip Pongpaiboon¹ Maneenuch Homsriprasert¹ Teeanutree Taephatthanasagon¹ Anusak Kijtawornrat2 Cardiac auscultation is a basic, non-invasive, useful method that used to identify cardiac murmur in patients with chronic valvular heart diseases, such as myxomatous mitral valve degeneration and tricuspid regurgitation. These diseases are commonly found in old age, small to medium size dogs. The heart murmur from regurgitation of valves can be recognized prior to the development of clinical signs. Cardiac auscultation by veterinarian annually is important for these dogs as the screening method of cardiac abnormality. Furthermore, abnormal cardiac rhythm can be diagnosis by electrocardiography (ECG). Therefore, cardiac auscultation and ECG interpretation are important clinical skills used by veterinarians to examine the patients and diagnosis the diseases. To support the development of cardiac auscultation and interpretation of ECG skills, we have created a realistic dog model for practicing cardiac auscultation and ECG acquisition and interpretation. The model has both normal and murmur heart sounds recorded in the memory inside the model which can be auscultated at each valve using the stethoscope softly pressed on the valve areas. In addition, the ECG can be acquired by connecting the ECG leads to the button at the legs of the model. Rhythms of ECG are manipulated on the ECG simulator which can be seen on the ECG machine. After validation process by 3 veterinary cardiologists, the major concerned issue that need to be improved are quality of the recorded heart sounds. Others are the position of heart valves, precordial thrills mimicking and material-devices of the model. In conclusion, the model helps to develop cardiac auscultation and ECG interpretation skills; therefore, learners are confidently performed cardiac auscultation and ECG acquisition and interpretation on the right position and be able to differentiate normal and abnormal heart sounds as well as ECG accurately. Furthermore, the model is an alternative for using real animals which reduces the number of animals to be used and reduces the pain and distress that might be inflicting on animals.
Keywords: Electrocardiograms, Heart Sounds, Model, Murmurs, Realistic Dog 1 th
6 year student, Academic Year 2020, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University 2 Department of Veterinary Physiology, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University 2
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดและโรคหัวใจในแมว ณัชชา ชอบสุข1 ปณิตา พงษ์ประสิทธิ์1 แพรวพรรณ พ่วงพลอย1 มนกานต์ บุนนาค1 ลักษิกา กีรติวิทยานันท์1 สิริลักษณ์ สุรเชษฐพงษ์2 โรคหัวใจเป็นโรคที่พบได้บ่อยในแมว และการพบของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมด้วยสามารถทาให้การพยากรณ์โรค เป็ น ไปในทางที่ แย่ล งได้ ในปั จจุ บัน การตรวจวินิ จฉัยยื นยัน การเป็น โรคหั วใจด้วยการใช้คลื่ นเสีย งความถี่สูงนั้น ยังถือว่ามี ข้อจากัดอยู่ในประเทศไทย การศึกษานี้จึงจัดทาขึ้ นด้วยจุดประสงค์เพื่อหาค่าบ่งชี้จากผลการวิเคราะห์ตัวอย่างของเหลวที่ได้ จากช่องเยื่อหุ้มปอด เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคหัวใจในแมว คณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษาแบบย้อนหลัง โดยใช้ข้อมูลจากแมวที่ พบของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอดจานวน 61 ตัว กลุ่มตัวอย่างแมวนั้นถูกแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม (กลุ่มที่เป็นโรคหัวใจ 34 ตัวและ กลุ่มที่ไม่เป็นโรคหัวใจ 27 ตัว) โดยทาการบันทึกข้อมูล เพศ สถานะทางระบบสืบพันธุ์ พัน ธุ์ อายุ น้าหนัก ผลการตรวจร่างกาย เบื้องต้น ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างของเหลวที่ได้จากช่องเยื่อหุ้มปอด ผลจากภาพถ่ายทางรังสีวิทยาของช่องอกและช่องท้อง ผลการตรวจหั วใจด้ วยคลื่ น เสีย งความถี่สูง และ การพบโรคอื่ น ๆ ร่วมด้ว ย ผลการทดสอบทางสถิติด้ วยไคสแควร์แสดง ความสัมพันธ์ระหว่างการเป็นโรคหัวใจในแมวกับการพบเสียงหัวใจผิดปกติ (p = 0.0003) ผลบวกจากการตรวจสารเบรนเนตริยูรีติก เพปไทด์ (p = 0.046) การพบลิ่ม เลือดในหลอดเลือดแดง (p =