บทเสภาสามัคคีเสวก Flipbook PDF

บทเสภาสามัคคีเสวก ม.2
Author: 

288 downloads 1296 Views 2MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

สามั ค คี เ สวก บทเสภา

ตอนวิ ศ วกรรมา สามั ค คี เ สวก

บ ดิ น ท ร์ ง า ม แ ส ง

ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย โ ร ง เ รี ย น บ า ง ป ะ ก อ ก วิ ท ย า ค ม

ความเป็ น มา • บทเสภาสามัคคีเสวก (เส-วก แปลว่า ข้าราชการใน ราชสานัก) พระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. 2457

• เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวังขอพระราชทานให้ ร.6 คิดการ แสดงเพื่อแสดงในการจัดเลีย้ ง ณ พระราชวังสนาม จันทร์ • เป็นบทที่ใช้สาหรับขับอธิบายนาเรื่องในการฟ้อนรา ตอนต่าง ๆ มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง

ความเป็ น มา • ร.6ทรงคิดการแสดง “ระบาสามัคคีเสวก” เป็นการ ราตามเพลงหน้าพาทย์ไม่มีบทร้อง

• ต่อมาแต่งเป็นบทเสภาขึ้นขับระหว่างพักตอนเพื่อให้ พิณพาทย์ได้พักเหนื่อย • มี 4 ตอน แต่ ล ะตอนมี แ นวคิ ด ส าคั ญ คื อ ความ ส า มั ค คี แ ล ะ ค ว า ม จ ง รั ก ภั ก ดี ต่ อ ช า ติ แ ล ะ พระมหากษัตริย์ ครูแจ้ง คล้ายสีทอง ศิลปินแห่งชาติ ปี 2538 สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์)

ความเป็ น มา

กิจการ แห่ง พระนนที บทเสภา

สามัคคีเสวก

สามัคคี เสวก

วิศวกรร มา

กรีนิรมิต

ตั ว อย่ า งการขั บ เสภา

ประวัติผู้แต่ง • รัชกาลที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ครองราชย์ 15 ปี (พ.ศ.2453-2468)

• การศึกษาทหารทรงสาเร็จการศึกษาจากแซนเฮิสต์ ทรงศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ และกฎหมาย ที่วิทยาลัยไครสต์เชิร์ช มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด • พ.ร.บ.นามสกุล พ.ร.บ.ประถมศึกษา

• ทรงปรีชาด้านอักษรศาสตร์ มีพระนามแฝง พระขรรค์เพชร ศรีอยุธยา อัศวพาหุ รามวชิราวุธป.ร.รามวชิราวุธ รามพันธ์ รามจิต รามสูร วชิราวุธ ฯ • หัวใจนักรบ ยอดบทละครพูดร้อยแก้ว และมัทนะพาธา ยอดบทละครพูดคาฉันท์

• UNESCO ยกย่องให้ทรงเป็น 1 ใน 5 นักปราชญ์ไทย • สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ลักษณะคาประพันธ์ • บทเสภาสามัคคีเสวก เป็นบทประพันธ์ประเภท “กลอนเสภา” ซึ่งเป็นกลอนที่แต่งขึ้นเพื่อให้เล่านิทานเป็น ทานอง โดยใช้ “กรับ” เป็นเครื่องประกอบจังหวะ

• ลักษณะกลอนเสภา ๑. เนื้อความตอนหนึ่ง ยาวกี่คากลอนก็ได้ ๒. จานวนคาในแต่ละวรรคอาจไม่เท่ากัน มีตั้งแต่ ๖-๙ คา ๓. การส่งและการรับสัมผัส คือ คาสุดท้ายของวรรคหน้า นิยมสัมผัสกับคาที่ ๑-๕ ของวรรคหลัง และคา สุดท้ายของวรรคส่งของกลอนบทแรก ส่งสัมผัสไปยังคาสุดท้ายของวรรครับในกลอนบทต่อไป

ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น ควรเคารพยาเยงและเกรงกลัว ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี

ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว ประโยชน์ตัวนึกน้อยหน่อยจะดี ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี จาต้องมีมิตรจิตรสนิทกัน

เรื่องย่อ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมมา ชาติใดที่มีศึกสงครามไม่มีความสงบสุขในแผ่นดิน ประชาชนย่อมไม่มีจิตใจจะสร้างสรรค์ งานศิ ลปะ แต่ หากชาติใด บ้ านเมืองสงบสุ ข ปราศจากสงคราม ประชาชนก็จะทานุ บารุ งการ ศิลปกรรมทั้งปวงให้เจริญรุ่งเรือง ซึ่งศิลปะนั้นสามารถแสดงได้ถึงความมีอารยธรรมของชาติ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก กล่าวถึงหน้าที่ของข้าราชบริพารที่ดี ต้องจงรักภักดี มีสามัคคี มีวินัย เปรียบเสมือนลูกเรือ ต้องเชื่อฟังกัปตัน มิฉะนั้นเรือที่บังคับอาจจะล่มไปในที่สุด

กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบรู รี มย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ ์

พระวิศวกรรม / พระวิษณุกรรม / พระเพชรฉลูกรรม • เทวดานายช่างใหญ่ของพระอินทร์ ตามตานานกล่าวว่า เป็นผู้สร้าง เครื่องมือ สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น และเป็นแบบอย่างให้กับมนุษย์ สืบมา • พระวิ ศ วกรรมรั บ เทวโองการต่ า ง ๆ จากพระอิ น ทร์ เพื่ อ สร้ า ง อุปกรณ์ สิ่งของ อาคาร ต่าง ๆ มากมาย เป็นผู้นาวิชาช่าง มาสอนแก่ มนุษย์ นับแต่นั้นมามนุษย์จึงรู้จักการสร้างและใช้งานสิ่งของต่าง ๆ จนมีการพัฒนารูปแบบมาจนถึงปัจจุบัน • ช่างไทยแขนงต่าง ๆ ให้ความเคารพบูชาพระวิศวกรรมในฐานะครู ช่าง หรือเทพแห่งวิศวกรรมของไทย โดยเรามักพบเห็นรูปจาลององค์ ท่านได้บ่อย ๆ ตามสถานศึกษาทางช่างทุกสถาบัน โดยนิยมสร้างอยู่ สองท่า คือ ท่ าประทั บนั่งห้อ ยพระบาท พระหัตถ์ข้ างหนึ่ง ถือ ผึ่ ง (จอบสาหรับขุดไม้) และอีกข้างถือ ดิ่ง และท่าประทับยืนมือขวาถือ ไม้เมตรหรือไม้วา มือซ้ายถือลูกดิ่งและไม้ฉาก

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวรรมา จะกล่าวบทพจนาเสภาแถลง

ต่อสาแดงบทกลอนตอนที่สาม

กล่าวถึงเทพศิลปีศรีเรืองราม

อันมีนามว่าวิศวกรรมา

ตามตาหรับไสยศาสตร์ประกาศไว้

ว่าในหมู่เทพไททุกทิศา

ผู้ชานาญหัตถกรรมศิลปา

สุดจะหาเทียมพระวิศวกรรม

เธอฉลาดชานิชานาญในการช่าง

ถ้วนทุกอย่างเอื้อเฟื้อเพื่ออุปถัมภ์

บารุงแดนดินด้วยศิลปกรรม

ให้แลล้าล้วนอร่ามและงามงอน

สอนช่างเขียนให้เพียรเขียดวาดสี

แบบกระกนกนารีศรีสมร

อีกกระบี่คชะสง่างอน

แบบสุนทรจิตรการสมานนรงค์

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา เริ่มผูกลายลวดเลิศประเสริฐก่อน

อรชรก้านกิ่งยิ่งประสงค์

สลับสีเพียบเพ็ญเบญจรงค์

จัดประจงเป็นภาพพิไลตา

อนึ่งปั้นเป็นรูปเทวฤทธิ์

ดูประหนึ่งนิรมิตวิเลขา

ทั้งรูปคนรูปสัตว์นานา

ประหนึ่งว่ามีชีวิตพิศเพลินใจ

อีกสถาปนะการชาญฉลาด

ปลูกปราสาทเคหฐานทั้งน้อยใหญ่

ก่อกาแพงกาแหงรอบกรุงไกร

ท้าประยุทธ์ชิงชัยแห่งไพรี

สร้างศาสตราอาวุธรุทธ์กาแหง

เพื่อใช้แย้งยุทธาการสมรศรี

ทวยทหารได้ถือเครื่องมือดี

ก็สามารถราวีอริลาน

อนึ่งเครื่องประดับสลับแก้ว

วะวับแววแก้วทองสองสมาน

ช่างประดิษฐ์คิดประจงคงตระการ

เครื่องสาราญนัยนาน่าพึงใจ

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา อันชาติใดไร้ศานติสุขสงบ

ต้องมัวรบราญรอนหาผ่อนไม่

ณ ชาตินั้นนรชนไม่สนใจ

ในศิลปะวิไลละวาดงาม

แต่ชาติใดรุ่งเรืองเมืองสงบ

ว่างการรบอริพลอันล้นหลาม

ย่อมจานงศิลปาสง่างาม

เพื่ออร่ามเรืองระยับประดับประดา

อันชาติใดไร้ช่างชานาญศิลป์

เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสง่า

ใครใครเห็นไม่เป็นที่จาเริญตา

เขาจะพากันเย้ยให้อับอาย

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา ศิลปกรรมนาใจให้สร่างโศก

ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย

จาเริญตาพาใจให้สบาย

อีกร่างกายก็จะพลอยสุขสราญ

แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม

เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร

เพราะขาดเครื่องระงับดับราคาญ

โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ

เพราะการช่างนี้สาคัญอันวิเศษ

ทุกประเทศนานาทั้งน้อยใหญ่

จึงยกย่องศิลปกรรม์นั้นทั่วไป

ศรีวิไลวิลาศดีเป็นศรีเมือง

ใครดูถูกผู้ชานาญในการช่าง

ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่อง

เหมือนคนบ้าคนไพรไม่รุ่งเรือง

จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา แต่กรุงไทยศรีวิไลทันเพื่อนบ้าน ทั้งช่างปั้นช่างเขียนเพียรวิชา ทั้งช่างรูปพรรณสุวรรณกิจ อีกช่างถมลายลักษณะจาลอง ควรไทยเราช่วยบารุงวิชาช่าง ช่วยบารุงช่างไทยให้ถาวร อันผองชาติไพรัชช่างจัดสรร เราต้องซื้อหลากหลากและมากมาย แม้พวกเราชาวไทยตั้งใจช่วย ช่างคงใฝ่ใจผูกถูกทานอง เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง สมเป็นเมืองใหญ่โตมโหฬาร

จึ่งมีช่างชานาญวิเลขา อีกช่างสถาปนาถูกทานอง ช่างประดิษฐ์รัชดาสง่าผ่อง อีกช่าชองเชิงรัตนะประกร เครื่องสาอางแบบไทยสโมสร อย่าให้หย่อนกว่าเขาเราจะอาย เป็นหลายอย่างต่างพรรณเข้ามาขาย ต้องใช้ทรัพย์สุรุ่ยสุร่ายเป็นก่ายกอง เอออานวยช่างไทยให้ทาของ และทาของงามงามขึ้นตามกาล ได้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล พอไม่อายเพื่อนบ้านจึ่งจะดี

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนสามัคคีเสวก ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น ควรเคารพยาเยงและเกรงกลัว ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี แม้ลูกเรือเชื่อถือผู้เป็นนาย คอยตั้งใจฟังบังคับกัปปิตัน แม้ลูกเรืออวดดีมีทิฐิ เมื่อคลื่นลมแรงจัดซัดโซเซ

ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว ประโยชน์ตัวนึกน้อยหน่อยจะดี ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี จาต้องมีมิตรจิตรสนิทกัน ต้องมุ่งหมายช่วยแรงโดยแข็งขัน นาวานั้นจึงจะรอดตลอดทะเล และเริ่มริเฉโกยุ่งโยเส เรือจะเหล่ระยาคว่าไป

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าพระยารามราฆพ

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนสามัคคีเสวก แม้ต่างคนต่างเถียงเกี่ยงแก่งแย่ง แม้ไม่ถือเคร่งคงตรงวินัย นายจะสั่งสิ่งใดไม่เข้าจิต จะยุ่งแล้วยุ่งเล่าไม่เข้าทาง ถึงเสวีที่เป็นข้าฝ่าพระบาท ในพระราชสานักพระภูธร เหล่าเสวกตกที่กะลาสี รักษาตนเคร่งคงตรงวินัย ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชัง ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี

นายเรือจะเอาแรงมาแต่ไหน เมื่อถึงคราวพายุใหญ่จะครวญคราง จะต้องติดตันใจให้ขัดขวาง เรือก็คงอับปางกลางสาคร ไม่ควรขาดความสมัครสโมสร เหมือนเรือแล่นสาครสมุทรไทย ควรคิดถึงหน้าที่นั้นเป็นใหญ่ สมานใจจงรักพระจักรี สามัคคีเป็นกาลังพลังศรี ให้สมที่ร่วมพระเจ้าเราองค์เดียว

บทวิเคราะห์ : คุณค่าด้านเนือ ้ หา บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา แก่นของเรื่องคือ การเตือนใจให้เห็นคุณค่าของศิลปกรรม ทาให้จิตใจมีความสุข ซึ่งส่งผลให้ร่างกายแข็งแรง และให้เห็นความสาคัญของศิลปิน ให้คนไทยช่วยกันสนับสนุนผลงานของศิลปิน ให้ศิลปินมีรายได้พอเลี้ยงชีพและ เกิดกาลังใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะ

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก แก่นของเรื่องคือ ข้าราชการเป็นกลไกสาคัญในการบริหารราชการแผ่นดิน ต้องตั้งใจปฏิบัติหน้าที่เสียสละ มี ความสามัคคี และตระหนักในหน้าที่ของตน

ตารางเทียบยศข้าราชการในราชสานักกับยศทหารบก กระทรวงวัง

กรมมหาดเล็ก

ตารวจหลวง

ยศทหารบก

มหาเสวกเอก มหาเสวกโท มหาเสวกตรี เสวกเอก เสวกโท เสวกตรี รองเสวกเอก รองเสวกโท รองเสวกตรี

จางวางเอก จางวางโท จางวางตรี หัวหมื่น รองหัวหมื่น จ่า หุ้มแพร รองหุ้มแพร มหาดเล็กวิเศษ

พระตารวจเอก พระตารวจโท พระตารวจตรี ขุนตารวจเอก ขุนตารวจโท ขุนตารวจตรี นายตารวจเอก นายตารวจโท นายตารวจตรี

พลเอก พลโท พลตรี พันเอก พันโท พันตรี ร้อยเอก ร้อยโท ร้อยตรี

เสวกโท จมื่นอมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

บทวิเคราะห์ : คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การใช้ภาพพจน์ บทเสภาสามัคคีเสวก มีความดีเด่นด้านการใช้ภาพพจน์แบบอุปมา โดยเฉพาะบทเสภาตอน สามัคคีเสวก ซึ่งเปรียบ ประเทศเหมือน

เรือ

รัฐนาวา

กษัตริย์

กัปตันเรือ

เหล่าข้าราชการ

กะลาสีเรือ

รัชกาลที่ ๖ ทรงแสดงให้เห็นว่า ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าได้ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกันปฏิบัติงานของตน ด้วยความแข็งขัน เรือลานี้จึงจะสามารถฝ่าคลื่นลมไปได้

บทวิเคราะห์ : คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การหลากคาและการแตกศัพท์ การหลากคา คือ มีการใช้คาที่มีความหมายเหมือนกันในบทประพันธ์เดียวกันเพื่อให้เกิดเสียงสัมผัสใน

การแตกศัพท์ คือ การนาศัพท์ ๑ คา มาแตกเป็นหลายคาโดยมีการเปลี่ยนแปลงรูปเล็กน้อยและมีความหมายใกล้เคียงกับความหมายเดิมมากที่สุด “กล่าวถึงเทพศิลปีศรีเรืองราม”

“ทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว”

“ควรนึกกว่าบรรดาข้าพระบาท”

“ในกิจศิลปะวิไลละวาดงาม”

“ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี”

“ถึงเสวีที่เป็นข้าฝ่าพระบาท”

“ย่อมจานงศิลปาสง่างาม”

“ในพระราชสานักพระภูธร”

“เหล่าเสวกตกที่กะลาสี”

“อันชาติใดไร้ช่างชานาญศิลป์”

“สมานใจจงรักพระจักรี”

“ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี”

“ศิลปกรรมนาใจให้สร่างโศก”

“จึงยกย่องศิลปกรรม์นั้นทั่วไป”

บทวิเคราะห์ : คุณค่าทางด้านสังคม สะท้อนความงามและคุณค่าของศิลปะ ศิลปกรรมนาใจให้สร่างโศก จาเริญตาพาใจให้สบาย แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม เพราะขาดเครื่องระงับดับราคาญ

ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย อีกร่างกายก็จะพลอยสุขสราญ เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ

บทวิเคราะห์ : คุณค่าทางด้านสังคม สะท้อนความรุง่ เรืองของชาติผา่ นงานศิลปะ บารุงแดนดินด้วยศิลปกรรม

ให้แลล้าล้วนอร่ามและงามงอน

แต่ชาติใดรุ่งเรืองเมืองสงบ ย่อมจานงศิลปาสง่างาม

ว่างการรบอริพลอันล้นหลาม เพื่ออร่ามเรืองระยับประดับประดา

บทวิเคราะห์ : คุณค่าทางด้านสังคม สะท้อนคุณธรรมหน้าที่และความสามัคคี เหล่าเสวกตกที่กะลาสี รักษาตนเคร่งคงตรงวินัย ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชัง ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี

ควรคิดถึงหน้าที่นั้นเป็นใหญ่ สมานใจจงรักพระจักรี สามัคคีเป็นกาลังพลังศรี ให้สมที่ร่วมพระเจ้าเราองค์เดียว

บทวิเคราะห์ : ข้อคิดและการประยุกต์ใช้ 1. มีความรักและภูมใิ จในศิลปะของชาติ 2. ตระหนักในหน้าที่ของตนเอง

3. เห็นความสาคัญของความสามัคคี 4. ให้เกิดความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์

มีความรักและภูมิใจในศิลปะของชาติ ตระหนักในหน้าที่ของตนเอง เห็นความสาคัญของความสามัคคี ให้เกิดความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์

สะท้อนความงามและคุณค่าของศิลปะ สะท้อนความรุ่งเรืองของชาติผ่านงานศิลปะ สะท้อนคุณธรรมหน้าที่และความสามัคคี

• •

มีการหลากคาและแตกศัพท์ ใช้ภาพพจน์



ร.6 แต่งเพื่อขับนาเรื่องระบา

• •

เพื่อให้นักดนตรีได้พัก แต่งเป็นเสภาขนาดสั้นมี 4 ตอน

การเตือนใจให้เห็นคุณค่าของศิลปกรรม ทาใจ จิตใจมีความสุข ซึ่งส่งผลให้ร่างกายแข็งแรง และ ให้เห็นความสาคัญของศิลปิน ให้คนไทยช่วยกัน สนับสนุนผลงานของศิลปิน ให้ศิลปินมีรายได้พอ เลี้ยงชีพและเกิดกาลังใจในการสร้างสรรค์งาน ศิลปะ

ข้าราชการเป็นกลไกสาคัญในการบริหารราชการแผ่นดิน ต้องตั้งใจปฏิบัติหน้าที่เสียสละ มีความสามัคคี และ ตระหนักในหน้าที่ของตน

รายการอ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3 %E0%B8%A1 https://www.youtube.com/watch?v=6z_IAJzl4EY matichon.co.th/education/news_415598 https://siamrath.co.th/n/17800 https://www.pinterest.com/pin/786581891140929857/ https://pantip.com/topic/37060305

http://koykoykoykoy.blogspot.com/2010/02/blog-post_5020.html pinterest.com/pin/370139663102636751/

https://www.pinterest.com/pin/473863192018838053/ https://www.pinterest.com/pin/570549846543159779/ https://www.pinterest.com/pin/474074298273996542/ https://www.pinterest.com/pin/555139091565155472/ https://sites.google.com/site/bthsephasamakhkhisewk/khunkha-dan-wrrnsilp

รายการอ้างอิง https://www.naewna.com/lady/363228 ภาพเขียนไทย ปี 2544 (สมปอง อัครวงษ์ และคณะ)

https://www.facebook.com/pg/%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B 9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C-104167916799578/about/ https://www.facebook.com/423031781142352/photos/a.1981820591930122/1981820598596788/?type=3&theater

https://twitter.com/boonlucksa13/status/742724312751169536/photo/1 https://www.pinterest.com/pin/442619469624720776/ https://www.vectorstock.com/royalty-free-vector/thai-traditional-ornament-and-frame-borders-vector-19627296

https://www.vectorstock.com/royalty-free-vector/set-of-thai-ornament-design-and-icon-flower-vector-7150596 https://www.istockphoto.com/th/vector/decorative-round-frame-mandala-gm1088022066291893735?irgwc=1&esource=AFF_IS_IR_getdrawings_1418411_&asid=getdrawings&cid=IS&utm_medium=affiliate&utm_source=getdrawings&utm _content=1418411&clickid=2aYSVhwLrxyJUHZ0O7XQxx3QUkixGk3Jb1HBSY0

ฟองจันทร์ สุขยิ่ง และคณะ. (2559). ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 5 . กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.