Data Loading...
สรุปการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาทและไขสันหลัง- Flipbook PDF
สรุปการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาทและไขสันหลัง-
673 Views
313 Downloads
FLIP PDF 374.07KB
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
(Increased intracranial pressure : IICP)
สาเหตุ
การเพิ่มของ
CSF
ลดการผลิตมากขึน ความผิดปกติในการดูดซึม การอุดตันนของทางเดิน CSF
ค่าความดันในกะโหลกปกติ(ICP) 5-15 mmHg แต่ใน IICP ความดันในกะโหลกศีรษะ > 20 mmHg
หกล้มหัวกระแทกท้าให้สมองบวม
Ventriculostomy เพื่อระบายน้า CSF
เนืองอกในสมอง
ปัจจัยทีท่ ้าให้เกิด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ติดเชือในสมอง
Craniectomy - คาร์บอนไดออกไซด์สูงกว่าปกติ (PCO2 > 45 มม.ปรอท = hypercapnia) - ออกซิเจนในเลือดลดลง (PO2 < 50 มม.ปรอท = hypoxemia) - การดูดเสมหะบ่อยเกินไป - ท่านอน ท่าศีรษะต่้า งอส่วนคอและข้อสะโพก - การเกร็งกล้ามเนือ เช่น ถีบตัวขึนเพื่อให้นอนในท่าที่สบาย อาการสั่น การจาม การไอ
อาการ
อาการและอาการแสดง การก้าซาบของเนือเยื่อสมองเปลี่ยนแปลงเนื่องจากภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เสี่ยงต่อการอุดกันทางเดินหายใจและหายใจไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลง/มีการเสียหน้าที่ของระบบ ประสาท ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวันลดลงเนื่องจากมีอาการชา อ่อนแรง เดินเซ หรือการรับสัมผัสบกพร่อง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เพื่อ
decompression
- ปวดศีรษะ - อาเจียนพุ่ง - จอประสาทตาบวม (papilledema)
- Conscious ลดลง - Charge pupil - Cushing 's triad Systolic BP Pulse RR
การพยาบาล
1. จัดท่านอนศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา 2. จัดศีรษะอยู่ในแนวตรง หลีกเลี่ยงการหักพับงอหรือศีรษะบิด 3. ห้ามจัดท่านอนคว่้า/งอสะโพกมากกว่า 90 องศา ไม่นอนทับบริเวณที่ท้าผ่าตัดแบบ Craniectomy 4. ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยการดูดเสมหะเมื่อมีข้อบ่งชี 5. ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล และลดการรบกวนผู้ป่วย 6. ไม่ออกแรงเบ่ง หรือกิจกรรมที่เพิ่มความดันในช่องท้องและช่องอก 7. ดูแล Ventriculostomy drain ระบาย CSF อย่างมีประสิทธิภาพ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) สาเหตุ
สมองบวมและขยายออกท้าให้ทางเดินไขสันหลังอุดตันและไหลไม่สะดวก
น้าในโพรงสมองเพิ่มขึนส่งผลให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การติดเชือแบคทีเรีย
การติดเชือไวรัส
การติดเชือรา
อาการคอแข็ง stiff neck ยกหัวแล้วขางอด้วย Brudzinski’s sing ยกขาเข้าขาลงแล้วผู้ป่วยเจ็บ Kernig’s sing มีไข้สูง ปวดศีรษะรุนแรง ตากลัวแสง ชัก ซึม สับสนและอาจหมดสติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1. 2. 3. 4. 5.
ไข้สูงเนื่องจากการติดเชือและการควบคุมของฮัยโปทาลามัสผิดปกติจากความดันในกะโหลกศีรษะสูง เสี่ยงต่อการขาดน้าเนื่องจากการเผาผลาญสูง ได้รับความเจ็บปวดทุกข์ทรมานเนื่องจากปวดศีรษะ เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึนจากสมองบวมน้า (Hydrocephalus) มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ชัก เนื่องจากเนือสมองตาย
อาการแสดง
กิจกรรมการพยาบาล
1. วัดอุณหภูมิทุก 2-4 ชม.เช็ดตัวลงไข้หากผู้ป่วยมีไข้สงู จะท้าให้การเผาผลาญเพิ่มขึนและเพิ่มความ ดันในกะโหลกศีรษะมากยิ่งขึน 2. ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ รวมถึงอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทอย่างน้อย 2-4 ชม. 3. ดูแลให้ได้รับสารน้าทางหลอดเลือดด้าและได้รับอาหารตรงตามแผนการรักษา 4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับประทานอาหารอย่างเพียงพอ 5. จัดให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆบนเตียง 6. จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 15-30 องศา