ชุดที่ 1 ถ่านหิน Flipbook PDF

ชุดที่ 1 ถ่านหิน
Author: 

88 downloads 151 Views 756KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ วิชา วิทยาศาสตร 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

ถานหิน จัดทําโดย

นางสาวสมสมัย ดวงแพง นายจักรพงษ วงษป นางสาวสุวรรณา จงจิตร

โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒

กลับหน้ าสารบัญ



¤íÒ¹íÒ

ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร จัดทําขึ้นเพื่อใชในการประกอบ กิจกรรมการเรียนการสอนรวมกับแผนการจัดการเรียนรูโดยเปนชุด กิจ กรรมที่เน น ผูเรี ย นสื บเสาะหาความรู ในรายวิ ชาวิ ท ยาศาสตร 4 รหัสวิชา ว22102 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ และสามารถสราง องคความรูดวยตนเองในการจัดทําชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ประกอบดวย 3 ชุดกิจกรรม ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง ถานหิน ชุดที่ 2 เรื่อง หินน้ํามันและปโตรเลียม ชุดที่ 3 เรื่อง ผลกระทบจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ คณะผูจัดทําหวังวาจะเปนประโยชนแกนักเรียนและผูที่สนใจศึกษา คนควาในเรื่องดังกลาวไดไมมากก็นอย หากมีขอผิดพลาดประการใด ขออภัย ณ โอกาสนี้ คณะผูจัดทํา



ÊÒúÑÞ

กลับหน้ าสารบัญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

ก ข ค ง 1 3 5 8 9

สารบัญ สารบัญตาราง คําชี้แจงแนะนําการใชชุดกิจกรรมสําหรับนักเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ

แบบทดสอบกอนเรียน ใบความรูที่ 1 เรื่อง ถานหิน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ถานหิน บรรณานุกรม

กลับหน้ าสารบัญ

เรื่อง



ÊÒúÑÞµÒÃÒ§

ตารางที่ 1 แสดงชนิดของถานหิน ลักษณะ และแหลงที่พบถานหิน ในประเทศไทย

หนา 5



¤íÒªÕéᨧ

กลับหน้ าสารบัญ

á¹Ð¹íÒ¡ÒÃ㪌ªØ´¡Ô¨¡ÃÃÁÊíÒËÃѺ¹Ñ¡àÃÕ¹ ชุดกิจกรรมการเรียนรูที่นักเรียนจะไดศึกษาตอไปนี้ เปนชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ มุงเนนใหนักเรียนไดรับการพัฒนาความรูและความเขาใจเกี่ยวกับ กระบวนการเกิ ด เชื้ อ เพลิ ง ซากดึ ก ดํ า บรรพ สมบั ติ ข องเชื้ อ เพลิ ง ซากดึ ก ดํ า บรรพ และ ผลกระทบจากการใช เ ชื้ อ เพลิ ง ซากดึ กดํ าบรรพ โดยฝ กการใช คํา ถามและทัก ษะการสื บ เสาะหาความรู เ พื่ อ ให นั ก เรี ย นได คิ ด และลงมื อ ปฏิ บั ติ กิ จ กรรมตามที่ กํ า หนดให ด ว ยที่ กําหนดใหดวยตนเองการใชเอกสารนี้ใหเกิดประโยชนสูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตามขั้นตอน ที่กําหนดไวในชุดกิจกรรมการรูตามลําดับ ดังนี้ 1. นักเรียนอานคําแนะนําการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู และปฏิบัติตามอยางตั้งใจ 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนในชุดกิจกรรมการเรียนรูเรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ จํานวน 20 ขอ 3. นักเรียนอภิปรายซักถามใหเขาใจเกี่ยวกับวิธีการ ขั้นตอนและบทบาทของนักเรียนตลอดจน ขอสงสัยอื่น ๆ 4. ขณะเรียน นักเรียนตองปฏิบัติกิจกรรมตามลําดับทุกขั้นตอนที่กําหนด ใหความรวมมือในการ ปฏิ บั ติ ต ามข อ ตกลง รั บ ผิ ด ชอบปฏิ บั ติ กิ จ กรรมตามที่ ไ ด รั บ มอบหมาย เพื่ อ ให บ รรลุ ผ ลสํ า เร็ จ ตาม วัตถุประสงค หากมีขั้นตอนใดไมเขาใจใหสอบถามครู 5. นักเรียนสามารถศึกษาดวยตนเองโดยอาศัยความซื่อสัตยตอตนเอง ไมเขาใจใหยอนกลับไป ศึกษาเนื้อหาใหม จะทําใหนักเรียนเขาใจบทเรียนยิ่งขึ้น แลวกลับมาทําใบกิจกรรม หรือศึกษาใบความรู อีกครั้ง 6. นักเรียนตองรักษาเวลาในการทํากิจกรรมแตละขั้นตอนใหทันเวลาที่กําหนด 7. สําหรับชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ครูประเมินผลงานนักเรียนจาก แบบบันทึกใบกิจกรรมที่ 1.1 – 3.1 8. นัก เรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่องเชื้อเพลิง ซากดึก ดําบรรพ จํานวน 20 ขอ ซึ่งอยูทายชุดกิจกรรมการเรียนรู



กลับหน้ าสารบัญ

º·ºÒ·¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ คําชี้แจงสําหรับนักเรียน

1. ศึกษาใบความรูและปฏิบัติตามใบบันทึกกิจกรรมทุกขั้นตอน 2. ปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเองดวยความตั้งใจ 3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเองและบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในใบบันทึกกิจกรรม ใหเสร็จในเวลาที่กําหนด 4. นักเรียนควรปฏิบัติตัวในการทํากิจกรรม ดังนี้ 4.1 ปฏิบัติกิจกรรมดวยความตั้งใจ เพื่อใหเสร็จทันเวลาที่กําหนด 4.2 ทํากิจกรรมตามแบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 และศึกษาใบความรูที่ 1 ทําใบกิจกรรม ที่ 2.1-2.2 และศึกษาใบความรูที่ 2 แลวทําใบกิจกรรมที่ 3.1 ศึกษาใบความรูที่ 3 และทําแบบทดสอบ หลังเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ดวยความตั้งใจและเต็มความสามารถ

กลับหน้ าสารบัญ

1

ªØ´¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ àÃ×èͧ àª×éÍà¾ÅÔ§«Ò¡´Ö¡´íÒºÃþ

มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 3.2 เข า ใจองค ป ระกอบและความสั ม พั น ธ ข องระบบโลก กระบวนการเปลี่ ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.2/1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบัติและการใชประโยชนรวมทั้ง อธิบายผลกระทบจากการใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพจากขอมูลที่รวบรวมได

สาระการเรียนรูแกนกลาง เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของซากสิ่งมีชีวิตในอดีต โดยกระบวนการทางเคมีและธรณีวิทยา เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพไดแกถานหิน หินน้ํามัน และปโตรเลียมซึ่งเกิดจากวัตถุตนกําเนิด และสภาพแวดลอมการเกิดที่แตกตางกันทําใหได ชนิดของเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพที่มีลักษณะ สมบัติและการนําไปใชประโยชนแตกตางกัน สําหรับปโตรเลียมจะตองมีการผานการกลั่นลําดับสวนกอนการใชงานเพื่อใหไดผลิตภัณฑที่ เหมาะสมต อการใช ป ระโยชน เ ชื้ อเพลิ งซากดึ กดํ าบรรพเ ปนทรัพ ยากรที่ใชแ ลวหมดไป เนื่องจากตองใชเวลานานหลายลานปจึงจะเกิดขึ้นใหมได

กลับหน้ าสารบัญ

2

จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายกระบวนการเกิด สมบัติ และการใชประโยชนของถานหินได 2. เปรียบเทียบสมบัติของถานหินแตละประเภทได 3. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับประเภทของถานหินได

กลับหน้ าสารบัญ

3

Ẻ·´Êͺ¡‹Í¹àÃÕ¹ ªØ´¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ àÃ×èͧ àª×éÍà¾ÅÔ§«Ò¡´Ö¡´íÒºÃþ ÃдѺªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 2 คําชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้เปนแบบปรนัย เลือกตอบ 4 จํานวน 20 ขอ 2. ทําเครื่องหมาย x ลงในคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง 1 ขอ 1. ถานหินเกิดจากการทับถมจากสิ่งใด ก. เกิดจาการทับถมของซากพืช ข. เกิดจาการทับถมของซากสัตว ค. เกิดจาการทับถมของหินและแรตาง ๆ ง. เกิดจาการทับถมของสาหรายและซากสัตว 2. ถานหินมีกี่ประเภท ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท 3. ถานหินมีธาตุใดเปนองคประกอบหลัก ก. คารบอน ข. ไนโตรเจน ค. ออกซิเจน ง. ไฮโดรเจน 4. แหลงถานหินในประเทศไทยที่พบมากที่สุดที่จังหวัดใด ก. จังหวัดขอนแกน ข. จังหวัดลําปาง ค. จังหวัดกระบี่ ง. จังหวัดระยอง 5. เพราะเหตุใด ถานหินแอนทราไซตจึงใหพลังงานมาก ที่สุด ก. มีจํานวนคารบอนมากที่สุด ข. มีจํานวนคารบอนนอยที่สุด ค. ไมมีจํานวนคารบอน ง. มีประจุไฟฟามาก

6. ขอใดเรียงลําดับถานหินที่ใหพลังงานนอยที่สุดไปหามาก สุดไดถกู ตอง ก. ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส แอนทราไซต พีต ข. ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส พีต แอนทราไซต ค. พีต ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส แอนทราไซต ง. พีต ลิกไนต ซับบิทูมินัส แอนทราไซต บิทูมินัส 7. ถานหินในขอใดที่เมื่อเกิดการเผาไหมแลวจะเกิดเขมาควัน มาก ก. พีต ข. ลิกไนต ค. บิทูมินัส ง. แอนทราไซต 8. ถานหินขอใดมีคุณภาพดีที่สุด ก. ลิกไนต ข. บิทูมินัส ค. ซับบิทูมินัส ง. แอนทราไซต 9. ปริมาณความรอนของถานหินขึ้นอยูกับปจจัยใด ก. อายุของถานหิน ข. ชนิดของถานหิน ค. ความชื้นของถานหิน ง. ปริมาณธาตุคารบอน 10. สารประกอบอินทรียที่แทรกอยูชั้นตะกอนของหินน้าํ มัน คือสารใด ก. เคอโรเจน ข. ควอตซ ค. เคลย ง. แคลไซต

กลับหน้ าสารบัญ 11. ปโตรเลียมประกอบดวยสิ่งใดบาง ก. น้ํามันดิบกับถานหิน ข. น้ํามันดิบกับหินน้ํามัน ค. ถานหินกับแกสธรรมชาติ ง. น้ํามันดิบกับแกสธรรมชาติ 12. ในแหลงกักเก็บปโตรเลียมที่มีทั้งน้ํามันดิบ แกส ธรรมชาติ และน้ําเราจะพบวามีการแยกชั้นกันอยางไร เรียงลําดับจากบนลงลาง ก. แกส น้ํา น้ํามัน ข. แกส น้ํามัน น้ํา ค. น้ํามัน แกส น้ํา ง. น้ํามัน น้ํา แกส 13. องคประกอบหลักของเชือ้ เพลิงธรรมชาติคือขอใด ก. ธาตุไนโตรเจนและคารบอน ข. ธาตุไฮโดรเจนและคารบอน ค. ธาตุออกซิเจนและคารบอน ง. ธาตุกํามะถันและคารบอน 14. การแยกปโตรเลียมโดยใชสมบัติของจุดเดือดเรียกวา อะไร ก. การกลั่นทําลายปโตรเลียม ข. การกลั่นลําดับสวน ค. การสลายน้ํามัน ง. การกลั่นธรรมดา 15. ผลิตภัณฑจากปโตรเลียมใดที่มีจุดเดือดสูงที่สุด ก. น้ํามันเตา ข. น้ํามันกาด ค. ยางมะตอย ง. น้ํามันหลอลื่น

4 16. ขอใดไมใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ ก. ถานหิน ข. น้ํามันดิบ ค. แกสธรรมชาติ ง. ถานกัมถันต 17. ขอใดเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวหมดสิ้น ก. ถานหิน ข. แกสธรรมชาติ ค. น้ํามันปโตรเลียม ง. ถูกทุกขอ 18. ประเทศไทยใชประโยชนจากถานหินในดานใด มากที่สุด ก. ใชในการขนสง ข. ใชผลิตกระแสไฟฟา ค. ใชผลิตเปนถานกัมมันต ง. ใชเปนเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม 19. ขอใดคือผลที่เกิดจากการเผาไหมที่ไมสมบูรณของ น้ํามันเชื้อเพลิงในรถยนต ก. เกิดแกสซัลเฟอรไดออกไซด ข. เกิดแกสคารบอนมอนอกไซด ค. เกิดแกสคารบอนไดออกไซด ง. เกิดแกสไนโตรเจนไดออกไซด 20. ขอใดเปนสาเหตุหลักสําคัญที่มนุษยเสาะหาแหลง พลังงานทดแทน ก. เกิดปญหามลพิษจากการใชถานหินและ ปโตรเลียม ข. พลังงานทดแทนเปนพลังงานที่สะอาดและ ไมหมดสิ้น ค. เกิดภาวะขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิงและ ปริมาณสํารองเหลือนอยมาก ง. เทคโนโลยีปจจุบันมีความกาวหนาสําหรับ การนําพลังงานทดแทนมาใช

5

㺤ÇÒÁÃÙŒ·Õè 1 àÃ×èͧ ¶‹Ò¹ËÔ¹

กลับหน้ าสารบัญ

เชื้อเพลิงธรรมชาติ หมายถึง แรเชื้อเพลิงที่เกิดจากสารอินทรีย มีธาตุคารบอนและธาตุ ไฮโดรเจนเปนองคประกอบหลัก เชื้อเพลิงธรรมชาติมีหลายชนิด เชน ถานหิน หินน้ํามันและ ปโตรเลียม ถานหิน ถานหิน (coal) เปนเชื้อเพลิงที่เกิดจากการทับถมของซากพืชในแองน้ําตื้น ซึ่งสวนใหญจะมี ลักษณะเปนหนองน้ํา บึง หรือพรุที่มีน้ําขัง มีพืชปกคลุมหนาแนนมาก เมื่อพืชตายลงหรือทิ้งกิ่งใบ สะสม ตัวอยูในน้ําจะเกิดการผุพังสลายตัว เหลือสวนที่สะสมตัวทับถมกันอยูในที่ลุมชื้นแฉะ เมื่อถูก อั ด ทั บ ถม เป น เวลานานหลายล า นป ภ ายใต แ รงกดดั น และอุ ณ หภู มิ ที่ สู ง ซากพื ช จะเกิ ด การ แปรเปลี่ยนเปน สารประกอบไฮโดรคารบอนเปนสวนประกอบหลักมีสถานะที่เปนของแข็งเกิดเปน ถานหิน แบงชนิดและคุณภาพของถานหินโดยใชปริมาณคารบอน เปนเกณฑได 5 ประเภทดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงชนิดของถานหิน ลักษณะ และแหลงที่พบถานหินในประเทศไทย ชนิดของถานหิน 1. พีต (peat)

2. ลิกไนต (lignite)

ลักษณะและสวนประกอบของถานหิน พีตเปนถานหินที่มีคารบอนอยูนอยกวา 60 % พบ เป น ลํ า ดั บ แรกของถ า นหิ น และมี อ ายุ น อ ยที่ สุ ด เปนถานหินที่ยังเห็นเปนลักษณะของซากพืช มีสี น้ําตาลถึงสีดํา มีความชื้นสูง เมื่อแหงจะติดไฟ ได ดี ใหคา ความร อนน อย มีค วัน มากใชผ ลิตไฟฟ า ข อ ดี ข องพี ต คื อ มี ร อ ยละของกํ า มะถั น ต่ํ า กว า น้ํามัน หรือถานหินชนิดอื่น ๆ ลิกไนตเปนถานหินที่มีคารบอนอยู 60-70 % เกิด จากซากพืชในพีตสลายตัวเกือบหมด เนื้อเหนียว มีผิวดาน สีน้ําตาลเขม มีความชื้นรอยละ 30-70 ใชเปนเชื้อเพลิงในการบมใบยาสูบ หมอไอน้ําและ ผลิตกระแสไฟฟา เมื่อนํามาเผาเปนเชื้อเพลิงจะมี มีควันมาก เกิดแกสหลายชนิดที่เปนมลพิษ เชน ไ น โ ต ร เ จ น อ อ ก ไ ซ ด ซั ล เ ฟ อ ร ไ ด อ อ ก ไ ซ ด คารบอนมอนอกไซด ฝุนและเถาเบา

แหลงที่พบ ในประเทศไทย ที่ ร าบน้ํ า ขึ้ น ถึ ง ป า ชายเลน พรุ และหนองน้ํา พีตที่เปน ชั้นหนา มั ก จะพบในป า พรุ เช น พรุ ท า สะท อ น จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี พรุ ที่ อํ า เภอ เชี ย รใหญ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช พบมากที่อําเภอแมเมาะ จังหวัด ลําปาง ที่คลองขนาน คลองทอม อํ า เ ภอ เ มื อ ง จั ง หวั ด ก ระ บี่ อําเภอสะบา ยอย จังหวัดสงขลา อํ า เ ภ อ เ วี ย ง แ ห ง จั ง ห วั ด เชี ย งใหม และอํ า เภอเคี ย นซา จังหวัด สุราษฎรธานี

กลับหน้ าสารบัญ

6

ตารางที่ 1 (ตอ) แสดงชนิดของถานหิน ลักษณะ และแหลงที่พบถานหินในประเทศไทย ชนิดของถานหิน ลักษณะและสวนประกอบของถานหิน แหลงที่พบ ในประเทศไทย 3. ซับบิทูมินัส ซับบิทูมินัสเปนถานหินที่มีคารบอน 71-77 % ใช อํ า เภอแม เ มาะ จั ง หวั ด ลํ า ปาง (sub- bituminous) เวลาในการเกิดมากกวาลิกไนต มีสีน้ําตาลถึงสีดํา อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน มีทั้งผิวมันและผิวดาน มีทั้งเนื้อแข็งและเนื้อออนมี ความชื้นประมาณ 25-30 % เปนเชื้อเพลิงที่มี คุณภาพ เหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟาและใช ในอุตสาหกรรม 4. บิทูมินัส บิ ทู มิ นั ส เป น ถ า นหิ น ที่ มี ค าร บ อน 77-87%มี อํ า เภอลี้ จั ง หวั ด ลํ า พู น และ (bituminous) ลักษณะเนื้อแนน แข็ง สีดําสนิทเปนมันวาวเปลี่ยน อําเภอแมระมาด จังหวัดตาก สภาพมาจากลิ ก ไนต เมื่ อ เผาไหม แ ล ว จะให ค า ความรอนสูง แตมีสารระเหิดอยูดวยเมื่อเผาจะให ควันมาก ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม และโรงไฟฟา 5. แอนทราไซต แอนทราไซตเปนถานหินที่มีคารบอนอยูมากกวา ในประเทศไทยไมพบ แอนทรา (anthracite) 87 % มีความแข็งแรงมากที่สุด สีดํา มันวาวแบบ ไซต แตจะพบเซมิแอนทราไซต กึ่งโลหะ มีรอยแตกแบบกนหอยเปนถานหินที่มี ซึ่ ง พบที่ อํ า เภอนาด ว ง จั ง หวั ด คุณภาพดีที่สุด เปลี่ยนสภาพมาจากบิทูมินัส ใหคา เลย และอําเภอนากลาง จังหวัด ความรอนสู ง มี ควัน น อยมากหรื อเกื อบไม มีเ ลย หนองบัวลําภู ติดไฟแลวเผาไหมเปนเวลานาน ใหเปลวไฟสีน้ํา เงิน สวนใหญมีการใชถานหินเปนเชื้อเพลิงในการ ผลิ ต กระแสไฟฟ า อุ ต สาหกรรมปู น ซี เ มนต แ ละ อุตสาหกรรมที่ใชหมอไอน้ํา เชน โรงงานกระดาษ เปนตน ในประเทศไทยพบถานหินทุกชั้นคุณภาพตั้งแตต่ําสุดไปถึงสูงสุด แตที่มีมากที่สุดไดแก ลิกไนตและ ซับบิทูมินัส สวนมากถานหินมักจะใชเปนเชื้อเพลิงแทนน้ํามันในการผลิตกระแสไฟฟา ถานหินพบมากที่ เหมืองแมเมาะ อําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง

7

กลับหน้ าสารบัญ

การใชประโยชนจากถานหิน มีดังตอไปนี้ 1. ถานหิน ถูกนํามาใชเปนแหลงพลังงานมากกวา 3,000 ป ประเทศจีนเปนประเทศแรก ๆ ที่นําถาน หินมาใชเปนเชื้อเพลิงในการถลุงทองแดง ปจจุบันการใชประโยชนจากถานหินสวนใหญใชเปน เชื้อเพลิงในการ ผลิ ต กระแสไฟฟ า อุ ต สาหกรรมบ ม ใบยาสู บ การถลุ ง โลหะ การผลิ ต ปู น ซี เ มนต และ อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช เครื่องจักรไอน้ํา 2. แหลงถานหินในประเทศไทยมีมากที่เหมืองแมเมาะ จังหวัดลําปาง คิดเปน 97 % ของ ปริมาณ สํารองที่มีอยูในประเทศไทย รองลงมาคือเหมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ สวนใหญเปนลิกไนตและ ซับบิทูมินัส ซึ่ง มีคุณภาพต่ํา ใหปริมาณความรอนไมสูงมากนัก 3. ใชทําคารบอนไฟเบอรซึ่งเปนวัสดุที่มีความแข็งแกรง แตน้ําหนักเบา สําหรับใชทํา อุปกรณกีฬา เชน ดามไมกอลฟ ไมแบดมินตัน ไมเทนนิส ไมแบดมินตัน เครื่องรอน ถานหินยังนํามา ทําเปน ถานกัมมันต (Activated carbon) เพื่อใชเปนสารดูดซับกลิ่นในเครื่องกรองน้ํา เครื่องกรอง อากาศ หรือในเครื่องใชตาง ๆ ปโตรเลียม

กลับหน้ าสารบัญ

8

ẺºÑ¹·Ö¡¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 1.1 àÃ×èͧ ¶‹Ò¹ËÔ¹

คําชี้แจง : ใหนักเรียนสืบคนขอมูล เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเกี่ยวกับถานหิน โดยสืบคนขอมูลจากใบความรู หรือ แหลงเรียนรูอื่น ๆ และนําขอมูลที่ไดจากการสืบคนเติมลงในชองวางใหถูกตอง

การเกิดถานหิน

ประเภทของถานหิน พีต ………………………………………………………………......................................... ลิกไนต …………………………………………………………........................................ ซับบิทูมินัส …………………………………………………………………......................... บิทูมินัส ……………………………………..………………………………....................... แอนทราไซต ……………………………………….……………………….........................

แหลงที่พบ

การนําไปใชประโยชน

ชื่อ – สกุล………………………………………………………ชั้น……………เลขที… ่ …………..

กลับหน้ าสารบัญ

9

ºÃóҹءÃÁ ฐิติวรดา ศรีสุวรรณ. (ม.ป.ป). ชุดกิจกรรมการเรียนรูว ิทยาศาสตร ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : https://issuu.com/titiworada1981/docs/____________________e-book_. (สืบคนเมื่อ วันที่ 28 มกราคม 2564). ศู น ย ก ารเรี ย นรู วิ ท ยาศาสตร โ ลกและดาราศาสตร . (2554). ถ า นหิ น . (ออนไลน ). เข า ถึ ง ได จ าก : http://www.lesa.biz/earth/ lithosphere/fuel/coal. (สืบคนเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2564). สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). หนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐานวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

กลับหน้ าสารบัญ

10

ẺºÑ¹·Ö¡¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 1.1 àÃ×èͧ ¶‹Ò¹ËÔ¹

คําชี้แจง : ใหนักเรียนสืบคนขอมูล เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเกี่ยวกับถานหิน โดยสืบคนขอมูลจากใบความรู หรือ แหลงเรียนรูอื่น ๆ และนําขอมูลที่ไดจากการสืบคนเติมลงในชองวางใหถูกตอง

การสะสมของซากพื ช บริ เ วณที่ ร าบลุ ม ที่ มี น้ํ า ท ว มขั ง นิ่ ง อยู ตลอดเวลา และมีปริมาณแกสออกซิเจนนอย ถูกแบคทีเรีย เชื้อรา เปลี่ ย นสภาพเป น อิ น ทรี ย วั ต ถุ ภายใต อุ ณ หภู มิ ความดั น และ ระยะเวลาที่ยาวนาน

การเกิดถานหิน

ประเภทของถานหิน ถ า นหิ น ที ย ่ ง ั เห็ น ซากของพื ช อยู ม  ส ี น ี า ํ ้ ตาลจนถึ ง สี ด า ํ มี ค าร บ อนน อ ย พีต ………………………………………………………………......................................... มี ส น ี า ํ ้ ตาล มี ซ ากพื ช เหลื อ อยู เ  ล็ ก น อ ย มี ค าร บ อนเพิ ม ่ ขึ น ้ ลิกไนต …………………………………………………………........................................ มีสีน้ําตาลจนถึงดํา มีทั้งผิวดานและมัน มีทั้งเนื้อออนรวน และแข็ง

ซับบิทูมินัส …………………………………………………………………......................... มี ส น ี า ํ ้ ตาลจนถึ ง ดํ า เนื อ ้ แน น แข็ ง มี ค าร บ อนสู ง กว า ซั บ บิ ท ม ู น ิ ส ั บิทูมินัส ……………………………………..………………………………....................... มี ส ด ี า ํ เนื อ ้ แน น แข็ ง และเป น มั น มี ค าร บ อนสู ง ให ค า  ความร อ นสู ง แอนทราไซต ……………………………………….……………………….........................

แหลงที่พบ อําเภอแมเมาะ จ.ลําปาง , อําเภอลีจ้ .ลําพูน

การนําไปใชประโยชน เปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา

ชื่อ – สกุล………………………………………………………ชั้น……………เลขที… ่ …………..

แบบทดสอบทายชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ถ่านหิน คําชี้แจง 1. แบบทดสอบนี้เปนแบบปรนัย เลือกตอบ 4 จํานวน 10 ขอ 2. ทําเครื่องหมาย x ลงในคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียง 1 ขอ

1. ถานหินเกิดจากการทับถมจากสิ่งใด ก. เกิดจาการทับถมของซากพืช ข. เกิดจาการทับถมของซากสัตว ค. เกิดจาการทับถมของหินและแรตาง ๆ ง. เกิดจาการทับถมของสาหรายและซากสัตว 2. ถานหินมีกี่ประเภท ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท 3. ถานหินมีธาตุใดเปนองคประกอบหลัก ก. คารบอน ข. ไนโตรเจน ค. ออกซิเจน ง. ไฮโดรเจน 4. ถานหินที่ถูกนํามาใชในประเทศไทยมากที่สุดคือ ถานหินชนิดใด ก. ลิกไนต ข. ซับบิทูมินัส ค. บิทูมินัส ง. แอนทราไซต 5. แหลงถานหินในประเทศไทยที่พบมากที่สุดที่ จังหวัดใด ก. จังหวัดขอนแกน ข. จังหวัดลําปาง ค. จังหวัดกระบี่ ง. จังหวัดระยอง

6. เพราะเหตุใด ถานหินแอนทราไซตจึงใหพลังงาน มากที่สุด ก. มีจํานวนคารบอนมากที่สุด ข. มีจํานวนคารบอนนอยที่สุด ค. ไมมีจํานวนคารบอน ง. มีประจุไฟฟามาก 7. ขอใดเรียงลําดับถานหินที่ใหพลังงานนอยที่สุดไป หามากสุดไดถูกตอง ก. ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส แอนทราไซต พีต ข. ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส พีต แอนทราไซต ค. พีต ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส แอนทราไซต ง. พีต ลิกไนต ซับบิทูมินัส แอนทราไซต บิทูมินัส 8. ถานหินในขอใดที่เมื่อเกิดการเผาไหมแลวจะเกิด เขมาควันมาก ก. พีต ข. ลิกไนต ค. บิทูมินัส ง. แอนทราไซต 9. ถานหินขอใดมีคุณภาพดีที่สุด ก. ลิกไนต ข. บิทูมินัส ค. ซับบิทูมินัส ง. แอนทราไซต 10. ปริมาณความรอนของถานหินขึ้นอยูกับปจจัยใด ก. อายุของถานหิน ข. ชนิดของถานหิน ค. ความชื้นของถานหิน ง. ปริมาณธาตุคารบอน

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.