1_01ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน Flipbook PDF

1_01ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน
Author:  S

85 downloads 120 Views 3MB Size

Recommend Stories


101
Manual de instrucciones C401/301/201/102/101 Colorímetros portátiles Technology Made Easy ... Rev. 0 09/05 Con la garantía de: Prólogo Este manua

101 Recetas Orientales
101 Recetas Orientales 1. ARROZ CON AVE Ingredientes: Pollo, o perdiz o pichones, 2 vasos de arroz 1 cebolla pequeña rallada 3 vasos de leche Nata de

REPACAR Informa nº 101
Boletín Electrónico de la Recuperación del Papel y Cartón Versión para imprimir. Julio 2012 REPACAR Informa nº 101 Según el último informe de Comisió

Story Transcript

สื่อการเรียนรู้ หัวข้อที่ 1 ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน

จุดประสงค์ 1. วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีและระบบย่อยของเทคโนโลยี 2. วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน

ความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยี

ทบทวนความรู้เดิม

เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้หรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้นเป็นได้ทั้ง ชิ้นงานหรือวิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหาสนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทางานของมนุษย์ เทคโนโลยีมีบทบาทในการอานวยความสะดวกและสนองความต้องการของมนุษย์ ช่วยในการ แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ช่วยให้มนุษย์มีสิ่งของเครื่องใช้ที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวมทั้งช่วยเพิ่มความสามารถในการทางานของมนุษย์ ช่วยให้ทางาน ได้ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น และค่าใช้จ่ายถูกลง

 ตัวอย่างเทคโนโลยีการถนอมอาหาร เช่น การตากแห้งด้วย พลังแสงอาทิตย์ ตู้อบไฟฟ้า อาหารกระป๋อง อาหารแช่แข็ง

 ตัวอย่างเทคโนโลยีที่ช่วยในการเดินทาง เช่น เกวียน จักรยาน มอเตอร์ไซต์ รถยนต์ รถไฟฟ้า เครื่องบิน รถไฟความเร็วสูง

ม.1

ทบทวนความรู้เดิม ความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยี ตัวอย่างเทคโนโลยีของการรีดผ้าซึ่งในอดีตจะใช้เตาถ่าน และเมื่อมีความก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยีจึงปรับเป็นเตารีดไฟฟ้า เตาไอน้า และเตารีดแบบยืนรีด ตามลาดับ

ม.1

ระบบทางเทคโนโลยี ระบบทางเทคโนโลยี คือ ระบบที่มนุษย์สร้าง หรือพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนอง ความต้องการพื้นฐานหรือพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งในระบบนั้นจะประกอบไปด้วย กลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทางาน ระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไป ด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุง การทางานได้ตามวัตถุประสงค์

ม.1

ระบบทางเทคโนโลยี 1. ตัวป้อน (Input) เป็นตัวตั้งต้นของระบบ อาจมีมากกว่า 1 อย่าง 2. กระบวนการ (Process) เป็นขั้นตอนการผลิตสินค้า บริการ หรือเป็นกระบวนการทางานเพื่อ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นผลผลิตตามวัตถุประสงค์ กระบวนการในระบบหนึ่งระบบอาจมี กระบวนการมากกว่า 1 กระบวนการ โดยกระบวนการเหล่านั้นจะทางานสอดคล้องกัน 3. ผลผลิต (Output) คือ ผลที่ได้จากการทางานร่วมกันของตัวป้อน และกระบวนการของระบบ ผลผลิตยังรวมถึงสิ่งที่เป็นผลพลอยได้จากระบบ ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่เราต้องการหรือไม่ก็ได้ เช่น ของ เสีย เศษวัสดุ 4. ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) คือ ข้อมูลที่ใช้ในการควบคุมหรือป้อนกลับให้ระบบทางานได้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจมีได้ในบางระบบ ม.1

ระบบทางเทคโนโลยี ตัวป้อน (Input)

กระบวนการ (Process)

ผลผลิต (Output)

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)

ระบบทางเทคโนโลยี ม.1

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ระบบทางเทคโนโลยี 1 ระบบ อาจประกอบด้วยระบบย่อย (subsystem) หลายระบบที่ทางานสัมพันธ์กันซึ่งเรียกว่า “ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน” หาก ระบบย่อยส่วนใดทางานผิดพลาดจะส่งผลทาให้ระบบย่อยอื่น หรือระบบใหญ่ไม่ สามารถทางานได้ตามวัตถุประสงค์ เช่น ในระบบของตู้เย็นถ้าระบบการควบคุม ความเย็นในห้องแช่แข็งไม่ทางานก็จะทาให้ตู้เย็นเครื่องนั้นทางานได้ไม่ตรงตาม วัตถุประสงค์

ม.4

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน รูปแบบการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ระบบย่อย

ตัวป้อน (Input)

กระบวนการ (Process)

หมายเหตุ : ข้อมูลย้อนกลับสามารถมีได้ทั้งระบบย่อยและระบบใหญ่

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)

ตัวป้อน (Input)

กระบวนการ (Process)

ผลผลิต (Output)

ตัวป้อน (Input)

กระบวนการ (Process)

ผลผลิต (Output)

ตัวป้อน (Input)

กระบวนการ (Process)

ผลผลิต (Output)

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน

ผลผลิต (Output)

ม.4

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน หมายเหตุ : ข้อมูลย้อนกลับสามารถมีได้ทั้งระบบย่อยและระบบใหญ่

รูปแบบการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน

ตัวป้อน

กระบวน การที่ I

ผลผลิต I เป็น ตัวป้อน II

ผลผลิต I

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)

กระบวน การที่ II

ผลผลิต II

ผลผลิต หลัก

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ม.4

ตัวอย่างการวิเคราะห์ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน

ระบบการทางานของการส่งอีเมล ระบบการทางานของอีเมลเป็นการส่งข้อความ (Message) อิเล็กทรอนิกส์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ หนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง ข้อมูลที่ส่งไปมี ทั้งตัวหนังสือ รูปภาพ เสียง และภาพวิดีโอ โดย ส่งผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ไปยังเมลเซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) ผ่านไปทางอินเทอร์เน็ต เมื่อข้อมูลไป ถึงเมลเซิร์ฟเวอร์ปลายทางจะถูกเก็บไว้ในเมลบ็อกซ์ (Mail Box) รอให้ผู้รับมาเปิด

ที่มา : https://digitalmarketingwow.com/

ระบบทางเทคโนโลยีของการส่งอีเมล ตัวป้อน ข้อมูลและอินเทอร์เน็ต

กระบวนการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่งข้อมูล ไปยังเมลเซิร์ฟเวอร์ ผ่านไปทาง อินเทอร์เน็ต

ผลผลิต ข้อมูลถึงผู้รับ

ข้อมูลย้อนกลับ อีเมลแจ้งกลับถึงผู้ส่งว่าข้อความหรือข้อมูล ไม่สามารถส่งได้

ไม่ถึงผู้รับ

วิเคราะห์ระบบย่อยของการส่งอีเมล ระบบย่อยที่ 1 การส่งอีเมล

ตัวป้อน คอมพิวเตอร์ที่ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

กระบวนการ การต่อเชื่อมอีเมลกับ เซิร์ฟเวอร์

ผลผลิต อีเมลสามารถส่ง ข้อมูลได้

ข้อมูลย้อนกลับ การเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต

ระบบย่อยที่ 2 การเดินทางไป ยังเซิร์ฟเวอร์

ตัวป้อน ข้อมูลที่ต้องการส่ง อีเมลผู้รับ

กระบวนการ คอมพิวเตอร์ส่งอีเมลไปให้ เซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์ก็จะ ตรวจสอบชื่อ – ที่อยู่ของ ผู้รับ ข้อมูลย้อนกลับ อีเมลแจ้งกลับถึงผู้ส่งว่า ข้อความหรือข้อมูลไม่ สามารถส่งได้

ผลผลิต ส่งอีเมลไปยังเมล เซิร์ฟเวอร์ของ ผู้รับ

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของการส่งอีเมล ข้อมูลย้อนกลับ อีเมลแจ้งกลับถึงผู้ส่งว่า ข้อความหรือข้อมูลไม่สามารถ ส่งได้

ตัวป้อน ข้อมูลและ อินเทอร์เน็ต

กระบวนการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลไป ยังเมลเซิร์ฟเวอร์ ผ่านไปทาง อินเทอร์เน็ต

ตัวป้อน คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต

กระบวนการที่ 1

การต่อเชื่อมอีเมลกับ เซิร์ฟเวอร์ ข้อมูลย้อนกลับ

ตัวป้อน ข้อมูลที่ต้องการส่ง อีเมลผู้รับ

ผลผลิต ข้อมูลถึงผู้รับ

ผลผลิต อีเมลสามารถส่ง ข้อมูลได้

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

กระบวนการที่ 2 คอมพิวเตอร์ส่งอีเมลไปให้ เซิร์ฟเวอร์ เซิร์ฟเวอร์ก็จะตรวจสอบ ชื่อ – ที่อยู่ของผู้รับ

ผลผลิต ส่งอีเมลไปยังเมล เซิร์ฟเวอร์ของผู้รับ

ระบบการทางานของประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ แม่น้าเจ้าพระยามีการไหลที่คดเคี้ยว โดยเฉพาะใน บริเวณพื้นที่บางกระเจ้า เป็นสาเหตุของการระบายน้าที่ ล่าช้า ซึ่งหากมีน้าทะเลหนุน ทาให้เกิดน้าท่วมในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ (ร.9) จึงมี พระราชดาริให้พัฒนาคลองลัดโพธิ์ ด้วยการขุดขยายคลอง เพื่อลดระยะทางและเวลาการไหลลงของน้า ทาให้น้าไหลลง ได้รวดเร็วขึ้นทั้งยังสามารถบริหารจัดการน้าให้เป็นไปตาม กาหนดด้วยการเปิด-ปิดประตูระบายน้าให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับเวลาของน้าขึ้น-น้าลงและน้าทะเลหนุนสูง จึง ช่วยบรรเทาปัญหาน้าท่วมได้

ที่มา : https://sites.google.com/site/chankeidnirachkalthi9/khorngkar-pratu-rabay-na-khlxng-ladphothi

วิเคราะห์ระบบการทางานของประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์

ตัวป้อน (Input) ปริมาณน้าเหนือ และ น้าทะเล

กระบวนการ (Process) การเปิด-ปิดประตูระบายน้า ให้สัมพันธ์กับ จังหวะการขึ้น-ลงของระดับน้าทะเล และ ปริมาณน้าเหนือ

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ความแตกต่างของระดับน้าทั้ง สองฝั่งของประตูระบายน้า

ผลผลิต (Output) การเปิด-ปิดประตูระบายน้า

วิเคราะห์ระบบย่อยของประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ ระบบย่อยที่ 1

ตัวป้อน ปริมาณน้าเหนือ ประตูสูง

กระบวนการ เปิดประตูระบายน้า

ผลผลิต น้าไหลลงสู่ทะเล

ข้อมูลย้อนกลับ ปริมาณน้าเหนือ ประตู

ระบบย่อยที่ 2 ตัวป้อน ปริมาณน้าทะเล หนุนสูง

กระบวนการ ปิดประตูระบายน้า ข้อมูลย้อนกลับ ปริมาณน้าทะเล

ผลผลิต น้าทะเลไม่ไหลเข้าสู่ ประตู

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ ข้อมูลย้อนกลับ ความแตกต่างของระดับน้าทั้ง สองฝั่งของประตูระบายน้า

ตัวป้อน ปริมาณน้าเหนือ และน้าทะเล

กระบวนการ การเปิด-ปิดประตูระบายน้า ให้สัมพันธ์ กับจังหวะการขึ้น-ลงของระดับน้าทะเล และปริมาณน้าเหนือ

ตัวป้อน ปริมาณน้าเหนือประตู สูง

ตัวป้อน ปริมาณน้าทะเลหนุนสูง

ผลผลิต การเปิด-ปิดประตูระบาย น้า

เปิดประตูระบายน้า

ผลผลิต น้าไหลลงสู่ทะเล

กระบวนการที่ 2 ปิดประตูระบายน้า

ผลผลิต น้าทะเลไม่ไหลเข้าสู่ ประตู

กระบวนการที่ 1

ระบบการทางานของรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ รถยนต์ ไ ฟฟ้ า แบตเตอรี่ ใช้ เฉพาะมอเตอร์ไฟฟ้าเป็นต้นกาลังให้ รถยนต์เคลื่อนที่ องค์ประกอบหลัก ในการขั บ เคลื่ อ นมี 3 ส่ ว นเท่ า นั้ น คือ 1. แบตเตอรี่ 2. ตัวควบคุมเครื่อง 3. มอเตอร์ไฟฟ้า

2

1

ตัวควบคุมเครื่อง ทาหน้าที่ ควบคุมและแปลงพลังงานไฟฟ้า เพื่อส่งต่อไปยังมอเตอร์ไฟฟ้า

3

แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน ทาหน้าที่เก็บไฟฟ้าที่รับจาก การชาร์จ

มอเตอร์ไฟฟ้า ทาหน้าที่ส่งพลังงานที่ได้รับจากอุปกรณ์ แปลงไฟฟ้าไปยังเพลาเพื่อให้เกิดการ ขับเคลื่อน

ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.enconlab.com/etuktuk/index.php/menu-news-etuktuk/22-2017-09-18-08-57-07

วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่

ตัวป้อน (Input) ไฟฟ้า

กระบวนการ (Process) ไฟฟ้าจะถูกเก็บในแบตเตอรี่เพื่อนามาใช้ใน การขับเคลื่อนมอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟ้าจะ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล ซึ่ง ถูกส่งไปยังล้อผ่านเพลาเพื่อขับเคลื่อน ยานพาหนะ ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ถูกเก็บใน แบตเตอรี่ ความเร็วในการ ขับเคลื่อน

ผลผลิต (Output) รถยนต์เคลื่อนที่

วิเคราะห์ระบบย่อยของรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ ระบบย่อยที่ 1 ตัวป้อน ไฟฟ้า

กระบวนการ แบตเตอรี่ กักเก็บประจุไฟฟ้าและถ่าย ประจุไฟฟ้า

ผลผลิต ไฟฟ้ากระแสตรง

ตัวป้อน ไฟฟ้ากระแสตรง

กระบวนการ ตัวควบคุมเครื่อง ควบคุมและแปลง กระแสไฟฟ้าจากไฟฟ้ากระแสตรงเป็น ไฟฟ้ากระแสสลับ

ผลผลิต ไฟฟ้ากระแสสลับ

ตัวป้อน ไฟฟ้ากระแสสลับ

กระบวนการ มอเตอร์ไฟฟ้า เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้ เป็นพลังงานกล และถูกส่งไปยังล้อผ่าน เพลาเพื่อขับเคลื่อนยานพาหนะ

ผลผลิต รถยนต์เคลื่อนที่

ระบบย่อยที่ 2

ระบบย่อยที่ 3

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ เป็นแหล่งกักเก็บประจุไฟฟ้าและถ่ายประจุไฟฟ้า ซึ่งแบตเตอรี่เป็น แหล่งการจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่แปลงรูปมาจากพลังงานเคมีที่เก็บสะสมไว้

ตัวป้อน ไฟฟ้า

ข้อมูลย้อนกลับ ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ ถูกเก็บในแบตเตอรี่ ความเร็วในการ ขับเคลื่อน

กระบวนการที่ 1 เก็บพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นไฟฟ้า กระแสตรง

ผลผลิต (Output) รถยนต์เคลื่อนที่

ตัวควบคุมเครื่อง มีหน้าที่ควบคุมและแปลงกระแสไฟฟ้าจาก ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ เพื่อส่งพลังงานต่อไปยัง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ผลผลิต ไฟฟ้า กระแสตรง

กระบวนการที่ 3 เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล และถูกส่งไปยังล้อผ่านเพลาเพื่อ ขับเคลื่อนยานพาหนะ

กระบวนการที่ 2 เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสตรงเป็น ไฟฟ้ากระแสสลับ

ผลผลิต ไฟฟ้า กระแสสลับ

มอเตอร์ไฟฟ้า ทาหน้าที่ส่งพลังงานที่ได้รับจากอุปกรณ์ แปลงไฟฟ้าไปยังเพลาเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน

ระบบทางเทคโนโลยีของรถจักรยานยนต์ ตัวป้อน แหล่งพลังงาน

กระบวนการ การทางานของเครื่องยนต์ ระบบขับเคลื่อน ระบบล้อ ระบบเฟือง ระบบห้ามล้อ หรือเบรก

ข้อมูลย้อนกลับ ระดับความเร็วของรถที่ ต้องการ

ซึ่งในระบบการทางานของรถจักรยานยนต์ ประกอบไปด้วยระบบย่อย ๆ หลาย ระบบ เช่น ระบบขับเคลื่อน ระบบล้อ ระบบเฟือง ระบบห้ามล้อหรือเบรก

ผลผลิต การเคลื่อนที่ ของรถ

วิเคราะห์ระบบย่อย: ระบบขับเคลื่อน ตัวป้อน แหล่งพลังงาน

กระบวนการ มอเตอร์ขับเคลื่อน

ข้อมูลย้อนกลับ ระดับความเร็วของรถที่ ต้องการ

ผลผลิต ทาให้ล้อหมุน

วิเคราะห์ระบบย่อย: ระบบเกียร์

ตัวป้อน การเปลี่ยนเกียร์

กระบวนการ การเปลี่ยนคู่เฟืองขับ และเฟืองตาม เพื่อให้ เกิดการทดแรง

ข้อมูลย้อนกลับ ระดับความเร็ว

ผลผลิต กาลังส่งที่ได้ จากระบบเกียร์

วิเคราะห์ระบบย่อย: ระบบล้อ ตัวป้อน ขนาดและพื้นผิว ของล้อ

กระบวนการ การยึดติดถนน การทรงตัว

ข้อมูลย้อนกลับ ระดับความเร็วและ การยึดติดถนน

ผลผลิต การเคลื่อนที่ของรถ

วิเคราะห์ระบบย่อย: ระบบห้ามล้อหรือเบรก ตัวป้อน การให้แรงกระทา ต่อเบรก

สายเบรก

กระบวนการ สายเบรกส่งแรงไป ยังอุปกรณ์ห้ามล้อ

ข้อมูลย้อนกลับ ระดับความแรงของการเบรก ได้จากความแรงในการบีบที่ สายเบรก จานเบรก

ผลผลิต ทาให้ล้อหมุนช้าหรือ หยุด

ระบบขับเคลื่อน input

process

output

แหล่ง พลังงาน

มอเตอร์ ขับเคลื่อน

ทาให้ล้อหมุน

ระบบห้ามล้อหรือเบรก input process output การให้แรง กระทา ต่อเบรก

ความสัมพันธ์ของระบบ ย่อยในการทางานของ รถจักรยานยนต์

สายเบรกส่งแรง ทาให้ล้อหมุน ไปยังอุปกรณ์ห้าม ช้าหรือหยุด ล้อ

input

process

ขนาดและพื้นผิว แกนล้อหมุน ของล้อ และ และทาให้เกิด ระบบเกียร์ทางาน การยึดติดถนน โดยส่งแรงผ่านโซ่ หรือสายพาน

ระบบเกียร์ process

input การเปลี่ยน เกียร์

ระบบล้อ

ออกแรงกระทากับ ระบบล้อเพื่อลดรอบ การหมุน

กาลังส่งที่ได้ จากระบบมอเตอร์

output การเคลื่อนที่ ของรถ

การเปลี่ยนคู่เฟืองขับและ เฟืองตาม เพื่อให้เกิดการ ทดแรง

ส่งผ่านกาลังให้ ระบบล้อ

output กาลังส่งที่ได้ จากระบบ เกียร์

การทางานผิดพลาดของระบบ (system failure) ร ะ บ บ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ข อ ง ร ถ จั ก ร ย า น ย น ต์ ประกอบด้ ว ยตั ว ป้ อ น กระบวนการ และผลผลิ ต ใน ขณะเดียวกันก็มีข้อมูลย้อนกลับ มาช่วยในการตรวจสอบ ผลผลิตที่ได้ นั้นคือถ้าผลผลิตที่ได้ไม่ตรงตามความต้องการ สามารถตรวจสอบได้จากข้อมูลย้อนกลับซึ่งจะเห็นได้ว่าการ วิเคราะห์ระบบการทางานของรถนั้นมีความจาเป็นอย่าง มาก เมื่ อ มี ก ารท างานผิ ด พลาดของระบบดั ง กล่ า ว ส า ม า ร ถ ท ร า บ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ส่ ว น ใ ด ที่ เ กิ ด ปั ญ ห า ใ น ขณะเดียวกันถ้าต้องการปรับปรุงหรือพัฒนารถให้ดีขึ้น ก็ จะสามารถปรับปรุงและพัฒนาได้ตรงจุด ไม่ก่อให้เกิดการ เสียเวลาในการลองผิดลองถูก

ที่มา : http://nongwaengpolice.blogspot.com/2016/04/

การทางานผิดพลาดของระบบ (system failure) ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ท า ง า น ที่ ผิ ด พ ล า ด ข อ ง รถจักรยานยนต์ ปี เ ตอร์ ไ ปท างานต่ า งประเทศเป็ น เวลานาน เมื่ อ กลั บ มาถึ ง บ้ า น ต้องการไปซื้อของที่ตลาด แต่เมื่อไปสตาร์ทรถจักรยานยนต์พบว่าสตาร์ทไม่ ติด ปีเตอร์ควรตรวจสอบระบบการทางานจักรยานยนต์ในส่วนใดบ้าง แนวคาตอบ 1. รถสตาร์ทไม่ติด เพราะแบตเตอรี่เสื่อม แบตเตอรี่ไม่สามารถ เก็บประจุไฟฟ้าไว้ได้นาน มีการรั่วไหลของประจุไฟฟ้าจนหมด ในระยะเวลาอันสั้น 2. รถสตาร์ทไม่ติด เพราะไดชาร์จเสื่อม โดยไดชาร์จทาหน้าที่ ปั่นกระแสไฟฟ้าเลี้ยงรถยนต์และชาร์จเก็บเข้าแบตเตอรี่ ที่มา : https://rideapart.com/articles/works-motorcycle-kickstarter

สรุประบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ระบบทางเทคโนโลยี ห นึ่ ง ๆ อาจประกอบไปด้ ว ย ระบบย่อยหลายระบบทางานสัมพันธ์กัน เพื่อให้เทคโนโลยี นั้นสามารถทางานได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งความรู้ เกี่ยวกับระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนช่วยให้เข้าใจ การ ทางานและสามารถแก้ไขหรือพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้นระบบทางเทคโนโลยี การทางานของ เทคโนโลยีสามารถอธิบายด้วยส่วนประกอบของระบบทาง เทคโนโลยี

เป้าหมายของการเรียนเทคโนโลยี  เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิต  เลือกใช้ (เลือกสร้าง) เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึง

ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม  ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์

เป้าหมายของการเรียนเทคโนโลยี เข้าใจ ใช้เป็น เห็นคุณค่า

ต่อยอด

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.