Data Loading...
2.Hinduismแก้ Flipbook PDF
2.Hinduismแก้
144 Views
125 Downloads
FLIP PDF 1.54MB
ทา e-book เรื่อง
ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู
จัดทาโดยสมาชิกกลุ่ม 1.นายคงคิด เที่ยงภักดิ์ เลขที่ 6 2.นางสาวรัชนก ตราครุฑ เลขที่ 19 3.นางสาววาสนา น่วมมานพ เลขที่ 21 4.นายสมพร คาพิลึก เลขที่ 24
5.นางสาวสุธัญญา แพบัว เลขที่ 27
เสนอ อาจารย์ รศ.ดร.วิไล ตัง้ จิตสมคิด
วิชา ความเป็ นครู
ประวัติความเป็ นมา • เป็นศาสนาที่เก่าแก่ และมีถิ่นกาเนิดที่ประเทศอินเดีย ได้เรียกว่าศาสนาพราหมณ์ ฮินดู แต่บางคนก็เรียกสั้นๆ ว่าศาสนาฮินดู ตามชื่อศาสนิกชนที่นับถือ ซึ่งเรียกว่าชาว ฮินดูหรือฮินดูชน • ในยุคพระเวท พวกอารยันซึ่งเป็นพวกผิวขาวได้เดินทางมาจากตอนใต้ของรัสเซียเข้า มาขับไล่พวก ดราวิเดียน ซึ่งเป็นพวกผิวดา ชนพื้นเมืองเดิมของอินเดีย พวกดราวิ เดียนบางพวกได้พากันหนีไปอยู่ ที่ ศรีลังกาและ บางพวกก็ได้สืบเชื้อสายผสมผสาน เผ่าพันธุ์กับพวกอารยันกลายเป็นคนอินเดียในปัจจุบัน คนอารยันนับถือพระอาทิตย์ ส่วนพวกชนพื้นเมืองเดิมบูชาและนับถือไฟ จึงได้พยายามเผยแผ่ความเชื่อ ของตน โดยชี้ให้เห็นว่า ดวงไฟที่ยิ่งใหญ่นั่น คือดวงอาทิตย์ จึงควรนับถือพระอาทิตย์ซึ่งเป็น ที่มาของไฟทั้งปวงในโลกมนุษย์ ทาให้แนวความคิดทางศาสนาของชนพื้นเมืองเดิม กับพวกอารยัน ผสมผสานเข้าด้วยกันจนเกิดเป็นศาสนาพราหมณ์ขึ้น
เทพเจ้าในศาสนาฮินดู • ศาสนาฮินดูเป็ นเทวนิยม (Theism) ที่เชื่อว่าพระเจ้ าทรงสร้ างจักรวาล มี เทพเจ้ า หลายองค์ในศาสนาฮินดู ที่สาคัญ คือ ตรี มูรติ ได้ แก่ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ เทพเจ้ าที่ 3 องค์นี ้เป็ น 3 ลักษณะที่แสดงออกของสิ่งสูงสุดหนึ่ง ที่เรี ยกว่า พรหมัน (Brahman)
พระพรหม 1.พระพรหม (Brahma) ท าหน้ า ที่ เป็ นพระผู้ สร้ าง มี ช ายาชื่ อ พระ สรั สวดี พาหนะประจ าพระองค์ คื อ หงส์
ภาพ พระพรหม จาก http://www.rmutphysics.com
พระวิษณุ • พระวิษณุ (Visnu)หรื อพระนารายณ์ ท าหน้ าที่ เ ป็ นพระผู้ พิ ทั ก ษ์ รั ก ษามี ชายาชื่ อ พระลั ก ษมี มี ค รุ ฑเป็ น พาหนะ
ภาพ พระวิษณุ จาก http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=doctorwar&month=122009&date=05&group=1&gblog=29
พระศิวะ • พระศิวะ (Siva) หรื อพระอิศวร ทาหน้ า ที่ เ ป็ น พระผู้ท าลาย มี ชายาชื่ อ พระอุ ม า มี โ คสี ข าว เป็ นพาหนะ
ภาพพระศิวะ จาก http://www.hinduthailand.com/
นิ กายในศาสนาฮินดู • ศาสนาฮินดู ที่สืบเนื่องจากศาสนาพราหมณ์นบั เป็ นศาสนาที่เก่าแก่มากที่สดุ ได้ แบ่ง ออกเป็ นหลายนิกายที่สาคัญ เช่น ๑. นิกายไวศณพ (Vishnav) เป็ นนิกายที่นบั ถื อ พระวิษณุเจ้ าเป็ นเทพองค์ สูงสุด เชื่อ ว่า วิษณุสิบ ปาง หรื อนารายณ์ ๑๐ ปางอวตารลงมาจุติ มีพระ ลักษมีเป็ นมเหสี มีพญาครุ ฑเป็ นพาหนะ นิก ายนีม้ ี อิทธิพลมากในอินเดียภาคเหนือและภาคกลาง ของ ประเทศ นิกายนี ้เกิดเมื่อ พ.ศ. ๑๓๐๐ สถาปนาโดย ท่านนาถมุนี (Nathmuni) ภาพ พระวิษณุ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู ๒. นิกายไศวะ (Shiva) เป็ นนิกายที่เก่าที่สดุ นับ ถือพระศิวะเป็ นเทพเจ้ าสูงสุด พระศิวะเป็ นเทพ ทาลายและสร้ างสรรค์ด้วย สัญลักษณ์ อย่างหนึ่ง แทนพระศิวะคือศิวลึงค์และโยนีก็ได้ รับ การบูชา เช่น องค์ พระศิวะ นิกายนีถ้ ื อว่าพระศิว ะเท่านัน้ เป็ นเทพสูงสุดแม้ แต่พระพรหม, พระวิษณุก็เป็ น รองเทพเจ้ าพระองค์นี ้ นิกายนีเ้ ชื่อว่า วิ ญญาณ เป็ นวิถีทางแห่งการหลุดพ้ นมากกว่าความเชื่อใน ลัทธิภกั ดี นิกายนี ้จะนับถือพระศิวะและพระนาง อุมาหรื อกาลีไปพร้ อมกัน ภาพพระศิวะ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู ๓. นิกายศักติ (Shakti) เป็ นนิกายที่นบั ถือพระ เทวีหรื อพระชายาของมหาเทพเช่น สรัสวดี พระ ลักษมี พระอุมา เจ้ าแม่ทรุ คา และเจ้ าแม่กาลีซงึ่ เป็ นชายาของมหาเทพทังหลาย ้ เป็ นผู้ทรงกาลัง หรื ออานาจของเทพสามีไว้ จึงเรี ยกว่า ศักติ (Power) นิกายนี ้เป็ นที่นิยมในรัฐเบงกอล และ รัฐอัสสัม เป็ นต้ น
ภาพ พระลักษมี จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู
๔. นิกายคณะพัทยะ (Ganabadya) นิกายนี ้นับ ถื อ พระพิ ฆ เณศเป็ นเทพเจ้ าสู ง สุ ด ถื อ ว่ า พร ะ พิ ฆ เนศเป็ นศู น ย์ ก ลางแห่ ง เทพเจ้ าทั ง้ หมดใน ศาสนา เชื่ อ ว่ า เมื่ อ ได้ บู ช าพระพิ ฆ เนศอย่ า ง เคร่งครัด ก็เท่ากับได้ บชู าเทพอื่นๆ ครบทุกพระองค์
ภาพ พระพิฆเณศ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู ๕. นิกายสรภัทธะ (Sarabhadh) เป็ น นิกายขนาดเล็ก ในสมัยก่อนบูชาพระ อาทิตย์ (สูรยะ) มีผ้ นู บั ถือมากในอดีต ปั จจุบนั มีจานวนน้ อย นิกายนี ้มีพิธีอย่าง หนึง่ คือ กายตรี หรื อ กายาตรี (Gayatri) ถือว่ามีอานาจศักดิ์สิทธิ์ คือการกลับมา ของพระอาทิตย์เป็ นฤๅษีวิศวามิตร
ภาพ สูรยะ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู ๖. นิกายสมารธะ (Samardha) เป็ นนิกายที่ใหญ่พอสมควร นับถือทุกเทพเจ้ าทุก พระองค์ในศาสนา ฮินดู ความเชื่อแบบนี ้เป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย เพราะสามารถ บูชาเจ้ าได้ ตามต้ องการ ยังมีนิกายอื่นๆอีกมากมาย และแยกย่อยออกไปอีก เช่นเดียวกับศาสนาพุทธ และ ศาสนา คริ สต์ ที่มีนิกายน้ อย-ใหญ่ แตกแขนงออกมาอีกนับไม่ถ้วน
หลักคาสอน • หลักอาศรม ๔ หลักอาศรม ๔ หมายถึง ขั้นตอนของชีวิต หรือ ทางปฏิบัติเพื่อยกระดับชีวิตให้ สูงขึ้น มี 4 ประการ คือ พรหมจารีี เป็ นขันตอนของเด็ ้ กชายตระกูล พราหมณ์ ทกุ คน จะต้ องรับการคล้ อง ด้ าย ศักดิ์สิทธิ์ จากอาจารย์ พิธีคล้ องด้ ายศักดิ์สิทธิ์ เรี ยกว่า "ยัชโญปวีต" เมื่อได้ รับ การคล้ องแล้ ว เท่ากับประกาศตนเป็ นพรหมจารี ถือว่าเป็ น พราหมณ์ โดยสมบูรณ์ จากนัน้ จะต้ องศึกษา อยู่ในสานักของอาจารย์จนสาเร็จการศึกษา คฤหัสถ์ หรือผู้ครองเรือน เมื่อสาเร็จการศึกษา แล้ว จะกลับบ้านเรือนของตน เพื่อ แต่งงาน และมีบุตร
หลักคาสอน วานปรั สถี์ เป็ นช่ ว งเวลาที่ พ พราหมณ์ ปฏิ บั ติ ต น เพื่ อ สั ง คมและ ประเทศ เมื่อครอบครัวเป็ นปึ กแผ่น และบุตรได้ ออกเรื อนเป็ นที่เรี ย บร้ อยแล้ ว พราหมณ์ ผ้ เู ป็ นหัวหน้ าครอบครัวจะออกป่ า เพื่อแสวงหาความวิเวกและฝึ กจิต ของตน ซึ่งอาจ กระทาเป็ นครัง้ คราวแล้ วกลับสู่เรื อนก็ได้ ซึ่งคล้ ายกับชาวไทย ในพุทธศาสนา ซึง่ เมื่อแก่เฒ่าลง ก็จะหันหน้ าเข้ าหาวัด สันยาสี เป็นระยะเวลาที่พราหมณ์ ทาเพื่อมนุษยชาติทั้งปวง เป็นการสละชีวิต คฤหัสถ์ ของ ผู้ครองเรือน เพื่อเข้าป่าออกบวช และเพื่อจุดหมายสูงสุดของ ชีวิต คือ โมกษะ
พิธีกรรม • ภาษาสันสกฤตจะเรี ยกพิธีกรรมทางศาสนาว่า สังสการ ซึง่ หมายถึงพิธีที่ชาวฮินดู ต้ อง ปฏิบตั ิ ในแต่ระยะของชีวิตโดยแบ่งเป็ นคร่าวๆดังนี ้ พิธีก่อนคลอด ๓ พิธี ๑. ครภาธานะ สังสการ ๒. ปุงสวนะ สังสการ ๓. สีมนั โตนนยนะ สังสการ
พิธีตงครรภ์ ั้ ถดั จากวันวิวาห์ พิธีเพื่อให้ ได้ บตุ รชาย พิธีแยกผมหญิงในระยะตังครรภ์ ้ แล้ ว
พิธีกรรม พิธีหลังคลอดตอนยังเป็ นเด็ก ๖ พิธี ๑. ชาตกรมะ สังสการ พิธีเกิด ๒. นามกรณะ สังสการ พิธีตงชื ั ้ ่อ ๓. นิษกรมณะ สังสการ พิธีนาเด็กไปดูพระอาทิตย์ขึ ้นครัง้ แรก ๔. อันนปราศนะ สังสการ พิธีปอ้ นข้ าวน ้า ๕. จุฑากรมะ สังสการ พิธีโกนจุก ๖. กรณเวธะ สังสการ พิธีเจาะหู พิธีเกี่ยวกับการศึกษา ๓ พิธี ๑. อุปนยนะ สังสการ ๒. เวทารัมภะ สังสการ ๓. สมาวรตนะ สังสการ
พิธีเริ่ มการศึกษาให้ เป็ นทวิชาติ พิธีเริ่ มการศึกษาพระเวท พิธีต้อนรับกลับบ้ านหลังสาเร็จการศึกษา
พิธีกรรม พิธีหลังสาเร็จการศึกษา ๔ พิธี ๑. วิวาหะ สังสการ พิธีแต่งงาน ๒. วานปรัสถะ สังสการ พิธีออกไปอยู่ป่า ๓. สันนยาสะ สังสการ พิธีบวชเป็ นฤษี ๔. อันตเยษฏิ สังสการ พิธีศพ
เทศกาลต่างๆ เทศกาลที่ชาวฮินดูเฉลิมฉลองมีมากมายนับไม่ถ้วน แตกต่างกันไปตามสถานที่แ ละภูมิภาค ต่างๆของประเทศอินเดีย ๑. เทศกาลทีวาลี เป็ นเทศกาลเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธญ ั ญาหาร ๒. เทศกาลโหลี เป็ นเทศกาลเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของพืชธัญญาหาร เหมือน เทศกาลทีปาวลี ๓.เทศกาลมหาศิวราตรี ๔.เทศกาลนวราตฃรี
๕.เทศกาลกุมภเมละ
ศาสนสถาน
หอพระอิศวรจาก http://www.krusupap\.com
หอพระอิศวรเป็ นโบราณสถานใน ศาสนาพราหมณ์ลทั ธิไศวนิกาย บูชา พระอิศวรหรื อพระศิวะเป็ นใหญ่ เหนือ เทพองค์อื่น ๆ ในศาสนาฮินดู หอพระ อิศวร เป็ นที่ประดิษฐานรูปเคารพพระ อิศวร เป็ นเทพองค์หนึง่ ในจานวนเทพ ที่เคารพสูงสุด 3 องค์ของศาสนา พราหมณ์ ได้ แก่ พระพรหม พระ อิศวร และพระนารายณ์
ศาสนสถาน
หอพระนารายณ์ จากhttp://www.krusupap.com
เป็ น โบราณสถานในศาสนาพราหมณ์ ลัท ธิ ไวษณพนิ กาย บูชาพระนารายณ์ เป็ นใหญ่เหนือเทพองค์อื่น ๆ เป็ น เทวส ถานส าหรั บ ประกอบพิ ธี ก รรมของ ศาสนาพราหมณ์ เพราะพราหมณ์ ที่ เข้ ามานครมีอยู่ 2 พวก พวกแรกนับถือ พระอิ ศวรเป็ น ใหญ่ กระท าพิ ธี ก รรมที่ หอพระอิ ศ วรหรื อ ฐานพระสยม พวก หลั ง นั บ ถื อ พระนารายณ์ เป็ นใหญ่ กระทาพิธีกรรมที่หอพระนารายณ์
สรุป เรื่องราวในวันนี้ ๑. ศาสนานี ้นับถือเทพเจ้ าหลายองค์ เรี ยกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้ าแต่ละองค์ในแต่ละยุค สมัย มีบทบาท และตานานต่างกันไป ในแต่ละท้ องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกั บเทพเจ้ าองค์ หนึง่ ๆ แตกต่างกันไปด้ วย ๒. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเป็ นศาสนาที่มีผ้ นู บั ถือมากเป็ นอันดับที่ ๔ ของโลก มีจานวนประมาณ ๙๐๐ ล้ านคน ๓. พระพุทธศาสนาก็เกิดขึน้ ท่ามกลางสังคมพราหมณ์ แม้ แต่พระพุทธเจ้ าและ พุท ธสาวกสมัย แรกๆ ก็ เ คยนับ ถื อ ลัท ธิ พ ราหมณ์ ห รื อ เคยเกี่ ย วข้ อ งกับ วรรณะ พราหมณ์ ม าก่ อ น และในนิ ท านชาดก และเรื่ อ งราวเกี่ ย วกับ ศาสนาพุท ธและ พระพุทธเจ้ า ก็มกั จะมีพราหมณ์ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง จึงกล่าวได้ ว่า ศาสนาพุทธและ พราหมณ์ จึงมีอิทธิพลต่อกันและกัน
ที่มา: เทวสถาน มรดกวัฒนธรรมบนแผ่นดิน ไทย หนังสือทีร่ ะลึกโครงการบูรณปฏิสังขรณ์ เทวสถาน สาหรับพระนคร. (๒๕๕๖). กรุงเทพมหานคร: สานักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์