สรุปผลการดำเนินงานพช.เดือน ต.ค.64 ถึง มี ค.65 Flipbook PDF

สรุปผลการดำเนินงานพช.เดือน ต.ค.64 ถึง มี ค.65
Author:  P

27 downloads 196 Views

Recommend Stories


64
k ˜ OFICINA ESPANOLA DE PATENTES Y MARCAS 19 k kInt. Cl. : B29C 49/64 11 N´ umero de publicaci´on: 6 51 ˜ ESPANA k 2 124 355 B29C 49/42 TRAD

64 BITS)
MINIPRINTER TERMICA ENTEC TM-188/T (PRP-188) DRIVERS PARA WINDOWS 10 (32/64 BITS) - REFERENCIA Nota: La miniprinter deberá conectarse en modo APAGAD

Story Transcript

สรุปผลการดาเนินงาน ประจาปี 2565 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2564 - มีนาคม 2565) สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุร ี

ข้อมูลทัว่ ไป

สัญลักษณ์จงั หวัดสระบุร ี

ตราประจาจังหวัดสระบุร ี

รู ป มณฑป หมายถึ ง สถานที่อั นเป็นที่เคารพบู ชาสูงสุดของชาวจังหวั ดสระบุ ร ีและชาวไทยทั้งประเทศ เป็นรูปมณฑปปลูกครอบรอยพระพุทธบาทขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ที่วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาว ิหาร ตาบลขุนโขลน อาเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุร ี

คาขวัญจังหวัดสระบุร ี พระพุทธบาทสูงค่า ฐานผลิตอุตสาหกรรม

หนึ่งเดียวกะหรปี่ ๊ บนมดี ั เหลืองอร่ามทุ่งทานตะวัน

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

เกษตรนาล้าแหล่งเทีย ่ ว

ประเพณีตักบาตรดอกไม้งาม ลือลั่นเมืองชุมทาง

ดอกไม้ประจาจังหวัดสระบุร ี ชือ ่ ดอกไม้ : ดอกสุพรรณิการ์ ชือ ่ ว ิทยาศาสตร์ Cochlospermum regium(Mart.&Schrank) Pilg.

ต้นไม้ประจาจังหวัด ชือ ่ พรรณไม้ : ตะแบกนา ชือ ่ ว ิทยาศาสตร์ Lagerstroemia floribunda 2

แผนทีจ ่ งั หวัดสระบุร ี

จังหวัดสระบุร ี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และพรัง่ พร้อม ด้ วยแหล่งท่องเที่ยวมากมาย จังหวัดสระบุร ี มีพื้นที่ติดต่ อกับจังหวัดทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคกลาง ได้แก่ ทิศเหนือ

ติดกับ จังหวัดลพบุร ี

ทิศตะวันออก

ติดกับ จังหวัดนครราชสีมา

ทิศตะวันตก

ติดกับ จังหวัดพระนครศร ีอยุธยา จังหวัดลพบุร ี

ทิศใต้

ติดกับ จังหวัดนครนายก จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศร ีอยุธยา

ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่จงั หวัดสระบุร ี เป็นส่วนหนึ่งของบร ิเวณลุ่มน้าที่ราบลุ่มภาคกลางรวมกัน กับอีกส่วนหนึ่งของ

ทิวเขาดงพญาเย็น สภาพภูมิประเทศมีลักษณะแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชด ั 3 ลักษณะ ได้แก่

บร ิเวณที่ราบลุ่ม คือ ส่วนหนึ่งของที่ราบลุ่มเจ้าพระยา ส่วนใหญ่คลุมพื้นที่ด้านตะวันตกของจังหวัด

พื้นแผ่นดินประกอบด้วยลักษณะภูมิประเทศแบบที่ราบตะกอนพามา มีทั้งที่ราบน้าท่วมถึง และที่ราบเป็นชัน ้ ๆ

บร ิเวณเขาหย่อม ลักษณะเป็นเขาลูกโดดที่กระจัดกระจายตามบร ิเวณที่ราบของจังหวัด และที่เป็นแผ่นดิน

ลักษณะเป็นคลื่อนลอนต่า ๆ ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด ซึง่ อยู่ในอาเภอมวกเหล็กเป็นส่วนใหญ่ บร ิเวณที่เป็นภูเขาสูง เป็นพื้นที่ส่วนที่เหลือของบร ิเวณสองส่วนที่กล่าวมา ลักษณะภูมิอากาศ

จัง หวั ด สระบุ ร ี เป็นจังหวั ดที่มีลั กษณะอากาศแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู คื อ จะมีฝนน้ อยแห้ งแล้ ง

ในฤดูหนาว และอุณหภูมิค่อนข้างสูงในฤดู รอ ้ น และค่อนข้างจะหนาวเย็ นในฤดูหนาว และมีฝนตดชุ ก

ในช่ว งเดื อ นพฤษภาคมถึ งเดื อ นตุ ลาคม อุ ณหภู มิเ ฉลี่ย สู งสุ ด 36.9 องศาเซลเซีย ส ในเดื อ นเมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุก 19.6 องศาเซลเซียส ในเดือนมกราคม และอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี สภาพทางการปกครอง การแบ่งเขตการปกครองเขตพื้นที่การปกครองในเขตเทศบาลและอาเภอ อาเภอ

เนื้อที่ (ตร.กม.)

ตาบล

หมู่บ้าน

อบจ. 1

เทศบาล

เทศบาล

เมือง

ตาบล

1

3

อบต.

1. เมืองสระบุร ี

301.630

11

77

2. แก่งคอย

801.162

14

117

3. หนองแค

262.867

18

181

4

17

4. ว ิหารแดง

204.501

6

54

2

8

5. หนองแซง

87.081

9

69

1

5

6. บ้านหมอ

203.576

9

79

6

3

7. ดอนพุด

58.714

4

28

1

1

8. หนองโดน

88.070

4

34

1

3

9. พระพุทธบาท

287.065

9

68

2

7

10.เสาไห้

111.808

12

102

6

4

11. มวกเหล็ก

671.439

6

80

1

6

12. วังม่วง

338.000

3

31

3

1

13. เฉลิมพระเกียรติ

150.573

6

53

1

6

รวม

3,576.486

111

973

31

79

2

1

1

4

7 11

กรอบอัตรากาลัง

สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุร ี 1. ข้าราชการ

จานวน

86

อัตรา

พัฒนาการจังหวัด

1

อัตรา

พัฒนาการอาเภอ

13

อัตรา

นักว ิชาการผู้ชว่ ย

6

อัตรา

52

อัตรา

1

อัตรา

 ผู้อานวยการกลุ่มงาน

4

นักว ิชาการ สพจ.

5

พัฒนากร (นักว ิชาการพัฒนาชุมชน) นักจัดการทั่วไป

1

เจ้าพนักงานการเง ินและบัญชี เจ้าพนักงานธุรการ 2. ลูกจ้างประจา

จานวน

 พนักงานขับรถยนต์  พนักงานทั่วไป (บ.) 3. พนักงานราชการ

 นักส่งเสร ิมการพัฒนาชุมชน

 นักว ิชาการพัสดุ (สังกัด ก.ประสานฯ 1 อัตรา)  นักพัฒนาชุมชน (พนักงานราชการเฉพาะกิจ) 4. พนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี

จานวน

 นิติกร

 พนักงานกองทุนฯ

อัตรา อัตรา

3

อัตรา

2

อัตรา

1

อัตรา

7

อัตรา

1 จานวน

อัตรา

1

อัตรา อัตรา

(ไม่มีผู้ถือครอง) 5

อัตรา

4

อัตรา

1

อัตรา

3

อัตรา

5. นักการตลาดรุน ่ ใหม่

จานวน

3

อัตรา

6. พนักงานกองทุนหมู่บ้าและชุมชนเมือง

จานวน

2

อัตรา

7. พนักงานจ้าเหมาเอกชนดาเนินงาน

จานวน

5

อัตรา

จานวน

1

อัตรา

 พนักงานบันทึกข้อมูล

 พนักงานทาความสะอาด  พนักงานทั่วไป

จานวน จานวน

1 1

อัตรา อัตรา

ผลการดาเนินงาน

1. การดาเนินงานโครงการภายใต้กรอบนโยบายฟื้ นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามพระราชกาหนดให้ อานาจกระทรวงการคลังกู้เง ินเพื่อแก้ไขเยียวยาและฟื้ นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้ ผลกระทบจากการระบาดของ โรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีว ิตตามหลักทฤษฎี ใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ความก้าวหน้าแปลงเป้าหมายที่ขอขยายเวลาการดาเนินงานออกไปถึง วันที่ 31 มีนาคม 2565 ผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีว ิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” - พื้นที่เป้าหมาย จานวน 30 แปลง ดาเนินการขุดปรับพื้นที่แล้วเสร็จ จานวน 30 แปลง

- กิจกรรมที่ 2 สร้างพื้นที่เร ียนรูช้ ุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีว ิตระดับครัวเร ือน (HLM) เบิกจ่ายครบถ้วน ร้อยละ 100

- กิจกรรมที่ 2 สร้างพื้นที่เร ียนรูช้ ุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีว ิตระดับตาบล (CLM) เบิกจ่ายครบถ้วน ร้อยละ 100

- กิจกรรมที่ 5 บูรณาการร่วมพัฒนาพื้นที่ระดับตาบล (จัดหาครุภัณฑ์) เบิกจ่ายครบ ร้อยละ 100 แผนงานที่จะดาเนินการต่อไป

- แต่ งตั้ งคณะทางานติ ดตามและสนั บสนุนการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒ นาคุณภาพชีว ต ิ ตามหลักทฤษฎี ใหม่ ประยุกต์ สู่

“โคก หนอง นา โมเดล” กิ จกรรมที่ 5 บูรณาการร่วมพัฒนาพื้นที่ระดั บตาบล

จานวน 4 ทีม (1 ทีม รับผิดชอบแปลง CLM 1 แปลง) ประกอบด้ วย ผู้อานวยการกลุ่มงานทุกกลุ่มและนักว ิชาการ พัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุร ี

- สร้างกลไกการขับเคลื่อนในระดั บพื้นที่ สนับสนุนการใช้ประโยชน์แปลง CLM โดยให้มีการจดทะเบียนการจัดตั้ง กลุ่ ม ตามหลั ก 5 ก ของกรมการพั ฒ นาชุ ม ชน โดยให้ แ ปลง CLM เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการบร ห ิ ารจั ด การ การใช้ประโยชน์ครุภัณฑ์

- จัด ตั้ ง เคร ือข่ า ยในการขั บ เคลื่ อนโครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ต้ น แบบการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชีว ต ิ ตามหลั ก ทฤษฎี ใ หม่

ประยุกต์ สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิ จพอเพียง กิ จกรรมพัฒนาศู นย์เร ียนรู ้ ทฤษฎี ใหม่รูปแบบ “โคก หนอง นา” ระดั บตาบล (เฉพาะตาบลที่มีแปลง CLM) ระดั บอาเภอ และระดั บจังหวั ด เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทางานร่วมกัน

2. โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ความก้ าวหน้ างานขุ ดปรับพื้นที่โครงการ ปีงบประมาณ 2565 - การเลือก/การออกแบบแปลน

- การจัดหาผู้รบ ั จ้าง (การจัดทา PO )

- ใช้แปลนมาตรฐานกรมการพัฒนาชุมชน

- เป้าหมาย จานวน 37 แปลง พื้นที่ 1 ไร่ 10 แปลง 3 ไร่ 27 แปลง

การหาผู้รบ ั จ้างโดยอาเภอจัดหาผู้รบ ั จ้างในพื้นที่ และจัดทา PO จานวน 1 ไร่ 10 แปลง 3 ไร่ 15 แปลง รวม 17 แปลง

คงเหลือ 10แปลง

แผนที่จาดาเนินการต่อไป – ติดตามสนับสนุนให้การดาเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในกาหนด

ความก้าวหน้างานขุดปรับพื้นที่(ปีงบประมาณ 2564) ที่ขอขยายเวลาดาเนินงาน ออกไปถึงวันที่ 31 มีนาคม 2565

- ปีงบประมาณ 2564 เป้าหมาย 178 แปลง จังหวัดสระบุร ีดาเนินการขุดปรับพื้นที่เสร็จเร ียบร้อย จานวน 178 แปลง แผนที่จะดาเนินการต่อไป

- จัดตั้งศูนย์เร ียนรูใ้ ห้เป็นรูปธรรมตามแนวทางกรมการพัฒนาชุมชน - จัดการเอามื้อสามัคคีให้ครบทุกแปลง

3. การดาเนิ นงาน “ผ้าไทยใส่ ให้ สนุก” ตามพระดาร ิสมเด็ จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิ ร ิวัณณวร ีนาร ีรัตนราชกั ญญา

1) จังหวัดสระบุร ี ได้ประชาสัมพันธ์ผ้าลายพระราชทาน “ผ้าขิดลายนาร ีรัตนราชกัญญา” ในที่ประชุมประจาเดือน

ของสานั กงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุร ี ประจาเดื อนกุมภาพันธ์ 2565 เพื่อให้ อาเภอทั้ง 13 อาเภอ นาลายผ้าต้ นแบบ “ผ้าขิดลายนาร ีรัตนราชกัญญา” ไปประชาสั มพันธ์ให้ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ได้ นาลายผ้าต้ นแบบไปประยุกต์ ในการทอผ้าของแต่ละกลุ่ม เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนต่อไป 2) เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ที่ 4 มี น าคม 2565 ณ หอประชุ ม ศู น ย์ ร าชการจั ง หวั ด สระบุ ร ี นายแมนรัต น์ รัต นสุ ค นธ์

ผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุร ี และนางวรสุดา รัตนสุคนธ์ ประธานแม่บ้านมหาดไทย จังหวัดสระบุร ี เป็นประธานพิธี

มอบแบบลายผ้าพระราชทาน “ผ้าขิดลายนาร ีรัตนราชกัญญา” ให้กับ นายอาเภอ และภร ิยาหร ือ ผู้แทนทั้ง 13 อาเภอ

และ กลุ่มทอผ้าของจังหวัดสระบุร ี จานวน 9 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มบ้านเฮาเสาไห้ อ.เสาไห้ 2) กลุ่มทอผ้ายกมุกลายโบราณ

อ.เสาไห้ 3) กลุ่ มแปรรู ปผลิ ตภั ณฑ์ ผ้ าทอมื อ อ.เสาไห้ 4) กลุ่ มสตร ีทอผ้ าพื้ นเมื อง อ.เสาไห้ 5) กลุ่ มสตร ีวั ดมงคล

อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุร ี 6) ธนกิจผ้าไทย อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุร ี 7) รักษ์ผ้าไทย อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุร ี 8) กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองไทยวน อ.เมืองสระบุร ี 9) กลุ่มวสิ าหกิ จชุ มชนตาบลโคกสว่าง อ.เมืองสระบุร ี เพื่อนาไปพัฒนา

รูปแบบ การแปรรู ปและการตลาดผ้ าไทยสระบุ ร ี ให้ แปลกใหม่ สร้างมูลค่ าเพิ่ ม พัฒนาสู่ สากล นาไปสู่ การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ และเป็นการสืบสานภูมิปัญญาผ้าไทยสู่ความยั่งยืน ซึง่ มีกลุ่มที่มีแผนที่จะดาเนินการผลิตผ้าทอ ลายพระราชทาน “ผ้ าขิ ดลายนาร ีรัตนราชกั ญญา” จ านวน 3 กลุ่ ม ได้ แ ก่ 1) กลุ่ มว สิ าหกิ จชุ มชนต าบลโคกสว่ าง อ.เมืองสระบุร ี 2) กลุ่มบ้านเฮาเสาไห้ อ.เสาไห้ 3) กลุ่มสตร ีวัดมงคล อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุร ี

3) จังหวัดสระบุร ี ได้จด ั จาหน่ายผ้าไทยและผ้าลายขอเจ้าฟ้าสิร ิวัณณวร ีฯ ในที่ประชุมกรมการจังหวัด , วันกิจกรรมวัน

ธารน้าใจสระบุร ี และจัดนิทรรศการผ้าไทยในพิธม ี อบแบบลายผ้าพระราชทาน “ผ้าขิดลายนาร ีรัตนราชกัญญา” ซึง่ ส่งผล ให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทผ้าและเครอื่ งแต่งกาย มีรายได้เพิ่มขึ้น

การพระราชทาน “ลายผ้ าขิ ดนาร ีรัตนราชกั ญญา” จังหวั ดสระบุ ร ีมี เป้ าหมายจากการจาหน่ ายผ้ าไทย ปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 เพิ่ มขึ้ นจากปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ร้อยละ 10 คิ ดเป็ นจ านวน 7,952,252 บาท รวมยอดจาหน่ าย จากการจาหน่าย ผ้าไทยของจังหวัดสระบุร ี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (เดือนตุลาคม 2564 - กุมภาพันธ์ 2565) จานวน 1,361,870 บาท (หนึ่งล้านสามแสนหกหมื่นหนึ่งพันแปดร้อยเจ็ดสิบบาทถ้วน) คิดเป็นร้อยละ 17.13

แผนที่ จ ะด าเนิ น การต่ อ ไป การขยายผลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส านั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด สระบุ ร ี ได้ แ สวงหา

งบประมาณ เพื่อขยายผลการสวมใส่ผ้าไทย ดังนี้

1) งบเง ินอุดหนุนกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี โครงการพัฒนาทักษะ และต่ อยอดอาชีพกลุ่มอาชีพ

สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี ประกอบการไปด้วย 2 กิจกรรม สถานที่ในการฝึกอบรมโรงเร ียน OTOP คอมเพล็กซ์ สระบุร ี ตาบลพุแค อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุร ี ดังนี้

กิ จกรรมที่ 1 การพัฒนาเทคนิคการทา “ผ้าลายขอเจ้าฟ้ าสิ ร ิวัณณวร ีฯ” โดยการทาผ้าพิมพ์ลาย ที่ทามือ กลุ่มเป้าหมาย 30 คน กิ จ กรรมที่ 2 การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากผ้ า โดยการฝึ ก การออกแบบการตั ด เย็ บ เสื้ อ ผ้ า กลุ่มเป้าหมาย 26 คน 2) จัดทาโครงการพัฒนาและเสร ิมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก (งบเง ินกู้) ปี 2565 เพื่ อดาเนิ นการกิ จกรรมสื บสาน อนุ รก ั ษ์ ศิ ลป์ ผ้ าพื้ นถิ่ น สิ นค้ าชุ มชนจังหวั ดสระบุ ร ี งบประมาณ 1,411,500 บาท เพื่ อส่ ง เสร ิมการทอผ้าลายขอเจ้าฟ้ าสิ ร ิวัณณวร ีฯ และผ้ าลายอั ตลัก ษณ์ จัง หวั ด(ผ้าลายก้ ามปู ) พร้อ มการพั ฒนา รูปแบบคุณภาพและเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ผ้า และการพัฒนาผู้ประกอบการสู่สากล ซึง่ จะดาเนินการในพื้นที่ ทั้ง 13 อาเภอ ในจังหวัดสระบุร ี ซึง่ ดาเนินการจานวน 3 กิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมการสืบค้นข้อมูลค่าเชิงลึกของผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจังหวัดสระบุร ี กลุ่มเป้าหมาย 40 คน - กิจกรรมการพัฒนารูปแบบคุณภาพเพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ กลุ่มเป้าหมาย 40 คน - กิ จ กรรมการส่ ง เสร ิมค่ า นิ ย มและหั ต ถกรรมผสานอั ต ลั ก ษณ์ จัง หวั ด สระบุ ร ี กลุ่ ม เป้ า หมาย 40 คน ณ OTOP Village Life 4. การดาเนิ นการพัฒนาเศรษฐกิ จฐานรากและประชารัฐ การจัดทาแผนการขับเคลื่อน คสป./แผนธุรกิจของบร ิษัท ฯ (SE) ผลการด าเนิ นงาน ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารพั ฒ นากลไกขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ฐานรากและประชารัฐ ระดับประเทศจังหวัดสระบุร ี ตามประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1 ผลิตภัณฑ์

1.1 สินค้าเกษตร

1.2 สินค้าแปรรูป

1.3 หมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุมชน

2. กาหนดกลุ่มเป้าหมาย

3. เพิ่มช่องทางการตลาด

3.1 ช่องทาง Offline 3.2 ช่องทาง Online

3.3 บร ิษัท ประชารัฐรักสามัคคี สระบุร ี (ว ิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด แผนที่จดาเนิ นการต่ อไป ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐให้เป็นรูปธรรม แผนการนาเสนอผลงานในรอบ 6 เดื อน ได้ จด ั ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนากลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐระดั บประเทศจังหวัด สระบุร ี ตามประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์

1.1 สินค้าเกษตร ได้แก่ ข้าวเจ๊กเชย อาเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุร ี เป็นข้าว GI ที่เกิดจากพื้นที่อาเภอเสาไห้ 1.2 สินค้าแปรรูป ได้แก่ ผลิตภัณฑ์กระชายผง อาเภอพระพุทธบาท

1.3 หมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้แก่ ตลาดหัวปลี บ้านพุแค อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุร ี

2. กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่

- Market trad - ข้าราชการ - ประชาชนทั่วไป - นักท่องเที่ยว - โรงพยาบาล - ร้านอาหาร - ลูกค้า Online

3. ช่องทางการตลาด มี 3 ช่องทาง เป็นช่องทางการตลาดผ่านระบบ offline และ online ดังนี้ 3.1 ช่องทาง offline - ตลาดภายในจังหวัดสระบุร ี เช่น ตลาดหัวปลี, ตลาดประชารัฐ, ตลาดนัดชุมชน ห้างสรรพสินค้า,

การบร ิการรับส่งสิ นค้ าไปยังผู้ซอ ื้ ที่อยู่ภายในจังหวัดสระบุร ี, จัดกิ จกรรมส่งเสร ิมการขายในรูปแบบต่ าง ๆ ได้ แก่

การนากระเช้าปีใหม่ ผ้าไทย ผ้าลายขอ ตลอดจนผลิตภัณฑ์ OTOP ผลิตภัณฑ์ชุมชน มาจัดแสดงและจาหน่าย ใน วันประชุมของส่วนราชการระดับจังหวัด ระดับอาเภอ

- ตลาดภายนอกจังหวัดสระบุร ี ห้างสรรพสินค้า งานแสดงสินค้า

3.2 ช่องทาง online - facebook บร ิษัท ประชารัฐรักสามัคคี - facebook ศูนย์ส่งเสร ิมตลาดออนไลน์ สระบุร ี OSC - OTOP Today 3.3 บร ิษัท ประชารัฐรักสามัคคี สระบุร ี (ว ิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด ติ ดต่ อ นายอัศว ิน ไขรัศมี กรรมการผู้จด ั การ บร ิษั ท ประชารัฐ รัก สามั คคี ส ระบุ ร ี (ว สิ าหกิ จเพื่ อ สั ง คม) จากั ด 085 123 7365 และขั บเคลื่ อ นการพั ฒ นา เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐให้เป็นรูปธรรม ตามแผนที่กาหนดไว้ 5. โครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) จังหวัดสระบุร ีมีกองทุนโครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) จานวน 229 กองทุน มีเง ินทุน 66,478,141.86 บาท

ระดั บการประเมินศั กยภาพ (กข.คจ.) ตามหลักธรรมาภิบาล

ระดับ 1 ปรับปรุง จานวน 5 หมู่บ้าน ระดับ 2 ปานกลาง จานวน 58 หมู่บ้าน ระดับ 3 ดี จานวน 166 หมู่บ้าน

(ข้อมูลจากแบบรายงานภาวะหนี้สินและฐานะทางการเง ิน กองทุน กข.คจ. ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2564)

จานวนกองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ที่อยู่ระหว่างการเร่งรัดติดตามการชาระเง ิน

ยืมตามสั ญญา จานวน 23 กองทุน มีเง ินทุนที่อยู่ระหว่างเร่งรัดติดตามการชาระเง ินยืมตามสัญญา ดังนี้ จานวนเง ินทุนที่มีปัญหา เป็นจานวนเง ิน 2,015,377 บาท จานวนเง ินทุนที่เสียหาย เป็นจานวนเง ิน

286,158 บาท รวมเป็นเง ินทั้งสิ้น 2,301,535 บาท

ผลการดาเนิ นงาน การติ ดตาม ตรวจสอบ และแก้ ไขปัญหาการชาระเง ินยืมโครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) จังหวัดสระบุร ี จานวน 23 กลุ่ม ปัญหาอุปสรรค 1. ครัวเร ือนเป้าหมายที่ยืมเง ิน กข.คจ. ขาดว ินัยในการชาระคืนเง ินยืม 2. เนื่ อ งด้ ว ยสถานการณ์ ก ารแพร่ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ท าให้ ค รัว เร ือน เป้าหมาย ขาดรายได้จากการประกอบอาชีพและมีค่าใช้จา่ ยสูง แนวทางแก้ ไขปัญหา 1. พัฒนากรผู้ประสานงานตาบล ประชุม ติดตาม เร่งรัดการใช้หนี้เง ินยืม ร่วมกับคณะกรรมการ กข.คจ. 2. ทีมคู่หูค่ค ู ิด (Move for fund team) ประกอบด้วย 1) พัฒนากร

2) ปราชญ์เชีย ่ วชาญด้านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

3) ปราชญ์เชีย ่ วชาญด้านโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)

4) คณะกรรมการศูนย์จด ั การกองทุนชุมชนหร ือปราชญ์ชุมชนด้านเศรษฐกิจพอเพียง

มีหน้าที่ : ติดตามให้คาแนะนา การแก้ไขปัญหาการดาเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน 3. แต่งตั้งทีมนักว ิชาการจังหวัด ติดตามร่วมกับอาเภอ ข้อเสนอแนะ ให้มีมาตรการในการให้ความช่วยเหลือครัวเร ือนเป้าหมายที่ยืมเง ินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ที่ได้รบ ั ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยการผ่อน ผันการส่งใช้คืนเง ินยืมต่อไป ความต้องการสนับสนุนจากกรมฯ 1)คู่มือ/แนวทาง/ตัวอย่างกรณี เง ินทุนที่มีปัญหา หร ือเง ินทุนที่เสียหายและแนวทางการแก้ไขปัญหา กองทุน กข.คจ. ที่ประสบผลสาเร็จ

2) นิติกร/ว ิทยากร/นักว ิชาการที่มีความเชีย ่ วชาญ ลงพื้นที่รว่ มพบประพูดคุย หาร ือ และแก้ไขปัญหาสาหรับ กองทุนที่มีปัญหา แผนงานที่จะดาเนินการต่อไป 1) การรายงานผลการติดตามและแก้ไขปัญหาการชาระเง ินยืม กข.คจ. ที่มีปญ ั หา จานวน 23 กองทุน โดยรายงาน ให้สานักทุนฯ ในสัปดาห์สุดท้ายของแต่ละไตรมาส และรายงานผลการติดตามและแก้ไขปัญหาการชาระเง ินยืม กข.คจ. ที่มีปัญหา ภายในวันที่ 15 ของทุกเดือน

2) การดาเนินงานโครงการสร้างความเข้มแข็งโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) โดยมีการกาหนด แผนการดาเนินงานและมีแนวทางในการแก้ไขปัญหา และทาให้สามารถแก้ไขปัญหา กองทุน กข.คจ. ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

6. การดาเนิ นงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี ผลการบร ิหารจัดการหนี้ เกิ นกาหนดชาระให้ ลดลงได้ ตามเป้าหมายที่กาหนด ลูกหนี้ทั้งหมด ณ 1 ต.ค.64 จานวน 74,356,587.68 บาท

หนี้เกินกาหนดชาระ ณ 1 ต.ค.64 จานวน 4,079,626.84 บาท

หนี้เกินกาหนดชาระ ณ 16 มี.ค.65 จานวน 5,692,254.90 บาท

หนี้เกินกาหนดชาระที่บร ิหารจัดการได้ ( -1,612,628.06) บาท หนี้เพิ่มขึ้น จานวน 1,612,628.06 บาท คิดเป็นร้อยละ 0 ปัญหา อุปสรรค 1.ลูกหนี้ที่หมดเขตพักชาระหนี้ รอบที่ 1 – 2 ไม่ชาระหนี้ทป ี่ รับโครงสร้างหนี้ไว้ 2.ลูกหนีใ้ หม่มก ี ารชาระหนี้ แต่ชาระช้ากว่าที่กาหนด

3.ปรับโครงสร้างหนีแ ้ ล้ว ลูกหนี้มีความสามารถในการชาระหนี้ได้น้อยกว่าที่ได้ดาเนินการปรับโครงสร้างหนี้ในแต่ ละงวด แนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรค 1.แจ้งลูกหนี้ที่จะหมดพักชาระหนี้ ฉบับที่ 2 และฉบับที่ 3 ทราบเพื่อเตร ียมชาระเง ินตามกาหนด

2.เชิญลูกหนี้กองทุนพัฒนาบทบาทสตร ีสมัครเข้ากลุ่มไลน์แจ้งเตือน เพื่อกระตุ้นเตือนลูกหนี้ให้ชาระหนี้ตาม กาหนด

3.ติดตามตรวจเยี่ยมลูกหนี้ทผ ี่ ิดนัดชาระหนี้ ข้อเสนอแนะ ควรมีประกาศมาตรการชัว่ คราว : พักชาระหนี้ให้แก่สมาชิกลูกหนี้กองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี (ฉบับที่ 4) แบบมี เงอื่ นไข ให้เฉพาะกลุ่มสมาชิกที่กู้ยืมในปี 2556 – 2562 โดยกาหนด

1.กลุ่มสมาชิกที่จะเข้าร่วมมาตรการพักชาระหนี้ เป็นกลุม ่ ที่มีหนี้ค้างชาระคงเหลือ ไม่เกินครงึ่ หนึ่งของจานวนเง ินที่ กู้ หร ือ ร้อยละ 50 ของจานวนเง ินที่กู้

2.กลุ่มสมาชิกที่ดาเนินการปรับโครงสร้างหนีแ ้ ล้วต้องเป็นกลุ่มสมาชิกที่ชาระตามกาหนดหร ือไม่มีหนี้ค้างชาระ แผนงานที่จะดาเนินการต่อไป

1.แจ้งสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ จัดตั้งกลุ่มไลน์คณะทางานขับเคลื่อนตาบล เพื่อมอบหมายภารกิจในการตรวจ เยี่ยมกลุม ่ ลูกหนี้ผิดนัดชาระหนี้

2.กาหนดแนวทางในการบร ิหารจัดการหนี้ เป็น 2 แนวทาง คือ 1.แนวทางในการป้องกันไม่ให้หนี้ค้างชาระเกิดขึ้น 2.แนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

3.จัดทาแผนในการบร ิหารจัดการหนี้โดยแยกประเภทหนี้ และกาหนดแนวทางในการบร ิหารจัดการต่อไป Best Practice

แบ่งเขตความรับผิดชอบให้กับพนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี และให้จด ั ทาแผนบร ิหารจัดการหนี้ในพื้นที่ ที่ ตนเองรับผิดชอบ โดยกาหนดตัวชีว้ ัดในการปฏิบัติงานของพนักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี

การบร ิหารจัดการหนี้ที่ยังไม่ครบกาหนดชาระไม่ให้กลายเป็นหนี้ที่เกินกาหนดชาระ มีการประชุมประจาเดือนแจ้ง ยอดให้พัฒนาการอาเภอทราบทุกเดือน พร้อมขอความร่วมมือในการติดตาม/รายงานผล

แผนงานที่จะดาเนินการต่อไป 1) ระบบแจ้งเตือนออนไลน์ 2) แยกประเภทลูกหนี้

3) ประสานผ่านคณะทางานขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ีตาบล

4) จัดตั้งไลน์กลุ่มลูกหนี้ที่กู้ยม ื เพื่อไม่ให้เกิดช่องว่างในการติดต่อประสานงาน 5) การลงพื้นที่ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานของกลุม ่ ลูกหนี้

การเบิกจ่ายงบประมาณกองทุนฯให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด โดยให้เบิกจ่ายให้แล้วเสร็จภายในไตรมาส 2 และให้จงั หวัด “โอนขายบิลเง ินเหลือจ่าย” คืนส่วนกลางภายในวันที่ 12 เมษายน 2565

งบบร ิหาร ได้รบ ั จัดสรร จานวน 2,447,790 บาท เบิกจ่าย จานวน 1,170,097.42 บาท คิดเป็นร้อยละ 47.80 งบเง ินทุนหมุนเว ียน ได้รบ ั จัดสรร จานวน 9,000,000 บาท เบิกจ่าย จานวน 3,679,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 40.88

ดาเนินการจัดประชุม วันที่ 23 มี.ค.65 มีโครงการเข้าพิจารณา จานวน 33 โครงการ เป็นเง ิน 4,391,400 บาท หากผ่านการพิจารณา ผลการเบิกจ่ายงบเง ินทุนหมุนเว ียนรวมทั้งสิ้น 8,070,400 บาท คิดเป็นร้อยละ 89.67

งบเง ินอุดหนุน ได้รบ ั จัดสรร จานวน 2,000,000 บาท เบิกจ่าย จานวน 530,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 26.50

ดาเนินการจัดประชุม วันที่ 23 มี.ค.65 มีโครงการเข้าพิจารณา จานวน 12 โครงการ เป็นเง ิน 1,470,000 บาท หากผ่านการพิจารณา ผลการเบิกจ่ายงบอุดหนุนรวมทั้งสิ้น 2,000,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 100

รวมงบประมาณได้ รบ ั จัดสรร จานวน 13,447,790 บาท เบิกจ่าย จานวน 5,379,097 บาท คิดเป็นร้อยละ 40 หากดาเนินการจัดประชุม วันที่ 23 มี.ค.65 โครงการเง ินทุนหมุนเว ียนและเง ินอุดหนุนผ่านทุกโครงการฯ ผลการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 10,710,497.42 บาท คิดเป็นร้อยละ 79.65 ปัญหา อุปสรรค

กาหนดระยะเวลาในการใช้จา่ ยเง ินทุนหมุนเว ียนและเง ินอุดหนุน ก่อนโอนเง ินคงเหลือกลับคืนส่วนกลางภายใน วันที่ 31 มีนาคม 2565 ระยะเวลาน้อยไป แนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรค

กาหนดระยะเวลาในการใช้จา่ ยเง ินทุนหมุนเว ียนและเง ินอุดหนุน ก่อนโอนเง ินคงเหลือกลับคืนส่วนกลาง ควรเป็น ส่งคืนภายในไตรมาสที่ 3 (30 มิ.ย.) แผนงานที่จะดาเนินการต่อไป

กาหนดจัดประชุมคณะทางานขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ีจังหวัดและคณะอนุกรรมการบร ิหารกองทุน พัฒนาบทบาทสตร ีจังหวัด ของเดือนมีนาคม 2565 เพื่อให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเตร ียมความพร้อมในการ จัดประชุมฯ และจัดส่งโครงการเง ินทุนหมุนเว ียนและเง ินอุดหนุนเข้าพิจารณาในคณะอนุกรรมการบร ิหารกองทุน พัฒนาบทบาทสตร ีจังหวัด และส่งเง ินทุนหมุนเว ียนคงเหลือคืนกรมฯ ให้ทันภายในวันที่ 31 มี.ค.65 Best Practice การจัดทาทะเบียนคุมการเบิกจ่ายงบประมาณกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ีของสานักงานพัฒนา ชุมชนอาเภอ ทุกอาเภอ และส่งไฟล์ทะเบียนคุมการเบิกจ่ายงบประมาณฯ ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เพื่อให้ อาเภอสามารถควบคุมการเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามตัวชีว้ ัดการเบิกจ่ายที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด

7. การดาเนินการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การรับรองความถูกต้องของข้อมูลครัวเร ือนเป้าหมาย จากระบบ TPMAP กลุ่มคนที่ตกหล่นจากระบบ TPMAP และกลุ่มคนเปราะบางที่ได้ รบ ั การตรวจสอบข้อมูล หร ือเติมเต็มข้อมูลครัวเร ือนยากจนทีค ่ รอบคลุม ทัง้ 6 มิติ

จานวนครัวเร ือนตก จานวนครัวเร ือนตก อาเภอ

เกณฑ์ TPMAP ปี 2562

จานวนครัวเร ือนใหม่ (Exclusion)

เกณฑ์ TPMAP ปี 2562 +จานวน ครัวเร ือนใหม่

จานวนครัวเร ือน จัดทาแผนครัวเร ือน

ร้อยละความก้าวหน้า การจัดทาแผน ครัวเร ือน

(Exclusion) เมืองสระบุร ี

369

18

387

387

100

แก่งคอย

210

26

236

98

41.5

หนองแค

158

17

175

169

96.6

ว ิหารแดง

0

10

10

3

30

หนองแซง

7

35

42

41

97.6

บ้านหมอ

3

131

134

120

89.5

ดอนพุด

0

5

5

5

100

หนองโดน

51

3

54

54

100

พระพุทธบาท

29

20

49

27

55.1

เสาไห้

1

62

63

63

100

มวกเหล็ก

26

76

102

65

63.7

วังม่วง

9

127

136

105

77.2

เฉลิมพระเกียรติ

3

46

49

30

61.2

รวม

866 ครัวเร ือน

576 ครัวเร ือน

1,442 ครัวเร ือน

1,167 ครัวเร ือน

80.9

สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุร ี ได้ สารวจจานวนครัวเร ือนตกเกณฑ์มิติความเป็นอยู่จานวน 221 ครัวเร ือน ดั งนี้ ข้อมูล ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565

- ตกเกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่ 8 ครัวเร ือนไม่มีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านไม่มีสภาพคงทนถาวร ต้ องการรับความ ช่วยเหลือ จาแนกเป็นซ่อมบ้าน จานวน 77 ครัวเร ือน และสร้างบ้าน จานวน 55 ครัวเร ือน

- ตกเกณฑ์ ตัว ชี้วั ดที่ 11 ครัว เร ือนไม่ มี ก ารจัดการบ้ า นเร ือนเป็ น ระเบี ย บเร ียบร้อ ย สะอาดและถู ก สุ ข ลั ก ษณะ

ต้ องการรับความช่วยเหลือ จาแนกเป็นของใช้ในบ้าน จานวน 137 ครัวเร ือน ซ่อมห้องน้า จานวน 44 ครัวเร ือน และสร้างห้องน้า จานวน 48 ครัวเร ือน

79

89

91

95

105

108

111

114

121

124

126

127

59

ทั้ ง นี้ ได้ มี ก ารประชุ ม เพื่อประสานขอความร่วมมือ จากส่ วนราชการอื่ นที่ เกี่ ยวข้อ งในการสนั บสนุน

ให้ ความช่วยเหลือและวางแผนดาเนินการแก้ ไขต่ อไป ได้ แก่ สานั กงานจังหวัดสระบุร ี สานั กงานเหล่ากาชาด

จัง หวั ด สระบุ ร ี ส านั ก งานคลั ง จัง หวั ด สระบุ ร ี ที่ ท าการปกครองจัง หวั ด สระบุ ร ี ส านั ก ง านพั ฒ นาสั ง คมและ ความมั่นคงของมนุษย์จงั หวัดสระบุร ี สานักงานท้องถิ่นจังหวัดสระบุร ี และนายอาเภอทั้ง 13 อาเภอ

ปัญหา อุปสรรค

ความต้ องการสนั บสนุนจากกรมฯ

1. จัดสรรงบประมาณการฝึกอบรมให้ ความรูท ้ ีมพี่เลี้ยง ให้ มีทักษะในการติ ดตาม เยี่ยมเยียน วเิ คราะห์

จัดทาแผนรายครัวเร ือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. จัดสรรงบประมาณสนั บสนุนวัสดุ สานั กงานโครงการ / เบี้ยเลี้ยงเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิ บัติงานในพื้นที่ / ทีม

ปฏิบัติการระดับตาบล / ทีมพี่เลี้ยง ที่เป็นผู้นาชุมชนหร ืออาสาสมัครในพื้นที่

3. จัดทาคู่มือเฉพาะสาหรับทีมปฏิ บัติการระดั บตาบล และทีมพี่เลี้ยง เพื่อใช้เป็นแนวทางประกอบการทางาน

อย่างถูกต้องชัดเจน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

แผนงานที่จะดาเนิ นการต่ อไป

1. ติดตาม สนับสนุน เยี่ยมเยียนให้กาลังใจ และบูรณาการให้ความช่วยเหลือครัวเร ือนเป้าหมาย ครบ 100%

2.ประสานงานส่งต่ อหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับปัญหาความต้ องการ เพื่อแก้ไขปัญหาได้ ตรงตามความ

ต้องการของครัวเร ือน

การให้ ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง

1. ให้ อาเภอตรวจสอบการแต่ งตั้ งทีมพี่เลี้ยงให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนด โดยทีมพี่เลี้ยง 1 ทีม 3-5 คน

ดูแล 10-15 ครัวเร ือน

2. มอบหมายให้ทีมพี่เลี้ยง จานวน 266 ทีม ดาเนินการลงพื้นที่จัดทาแผนครัวเร ือน (แบบ ศจพ.3) ร่วมกับ

ครัวเร ือนเป้าหมาย ตามแนวทางการดาเนินงานการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักปฏิบัติการ 4ท ได้แก่ ทัศนคติ ทักษะ ทรัพยากร และทางออก เพื่อนาแผน ครัวเร ือนที่ได้ มาว ิเคราะห์ แยกแยะ จัดหมวดหมู่ ลาดั บความสาคัญ สรุปแผนครัวเร ือนรายตาบล รายแผนงาน/ โครงการ สาหรับประสานส่งต่อหน่วยงานที่รบ ั ผิดชอบในระดับพื้นที่ต่อไป ซึง่ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ • • 

ระยะสั้น - ช่วยเหลือครัวเร ือนในเบื้องต้น เช่น การมอบถุงยังชีพ การให้การส่งเคราะห์

ระยะกลาง - ประสานส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการให้ความช่วยเหลือตามภารกิจของหน่วยงาน ระยะยาว - ส่งเสร ิมการสร้างงาน สร้างอาชีพ ให้เกิดการพึ่งพาตนเอง

แผนงานที่จะดาเนิ นการต่ อไป

ดาเนินโครงการสนั บสนุนอาชีพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ครัวเร ือนด้ อยโอกาสตามแนวทางหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิ จพอเพียง งบประมาณ 1,363,700 บาท (โครงการตามแผนปฏิ บัติราชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของจังหวัดสระบุร ี) จานวน 3 กิจกรรม ดังนี้ กิ จกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิ จพอเพี ยง (ศจพ.อ.) โดยส านั กงานพัฒนาชุ มชนอ าเภอ เป็ นหน่ ว ยดาเนิ นการ จัดประชุ ม ศจพ.อ. จานวน 13 คณะๆ ละ 30 คน ณ ที่ว่าการอาเภอ ประชุ มพิจารณา/จาแนกสถานะ/จัดลาดั บ กลุ่มครัวเร ือนที่ ประสบปั ญหา ด้ านคุณภาพชีวต ิ ด้ านใดด้ านหนึ่งจาก 5 มิติ ได้ แก่ ด้ านสุ ขภาพ ด้ านการศึ กษา ด้ านการเง ิน ด้ านความเป็นอยู่ และด้านการเข้าถึงบร ิการรัฐ รวมถึงกลุ่มเปราะบางที่ได้รบ ั ผลกระทบด้านรายได้ การถูกเลิกจ้างจากการแพร่ระบาด ของเชือ ้ ไวรัส โคว ิด-19 ที่มีความพร้อมที่จะรับการพัฒนาอาชีพ กิ จกรรมที่ 2 ประชุ มเชิงปฏิบัติการเตร ียมความพร้อมเจ้าหน้าที่และครัวเร ือนเป้าหมาย โดย สานั กงาน พั ฒ นาชุ ม ชนจัง หวั ด เป็ น หน่ ว ยด าเนิ น การจัด ประชุ ม จ านวน 2 รุ น ่ ๆ ละ 1 วั น ๆ ละ 208 คน รวม 416 คน (กลุ่มเป้าหมาย คือ ครัวเร ือนเป้าหมาย 390 คน และเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน 26 คน (อาเภอละ 2 คน) รวม 416 คน) กิ จกรรมที่ 3 ประชุ มเชิงปฏิ บัติการหนุนเสร ิมอาชีพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ครัวเร ือนด้ อยโอกาสตาม

แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เป็นหน่วยดาเนินการประชุมหนุนเสร ิม อาชีพในส่วนของรายการวัสดุอบรมอาชีพ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นหน่วยดาเนินการ

การจัดทาข้อมูล TPMAP Logbook

ปัญหา อุปสรรค ขาดงบประมาณ สนับสนุนและให้การช่วยเหลือในเบื้องต้ น แนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรค 1. การประสานขอรับการสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นจากหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ 2. การสนับสนุน และให้ความช่วยเหลือจากกลุ่ม องค์กร เคร ือข่ายพัฒนาชุมชนในพื้นที่ 3. การบูรณาการกิจกรรมการให้ความช่วยเหลือร่วมกับกิจกรรมพัฒนาชุมชนอื่นๆ ข้อเสนอแนะ

1. ระดับนโยบาย มีการสั่งการและมอบหมายแนวทางการดาเนินงานให้ชด ั เจน

2. จัดทากรอบแนวทางการใช้จา่ ยงบประมาณ สาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสนับสนุนและช่วยเหลือ ครัวเร ือนเป้าหมายได้ ความต้องการสนับสนุนจากกรมฯ สนับสนุนงบประมาณในการให้ความช่วยเหลือ และพัฒนาครัวเร ือนยากจน เป้าหมาย แผนงานที่จะดาเนินการต่อไป

1. ติดตาม ให้ความช่วยเหลือครัวเร ือนเป้าหมาย ครบ 100%

2. ประสานงานส่งต่อหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับปัญหาความต้องการ เพื่อแก้ไขปัญหาได้ตรงตามความ ต้องการของครัวเร ือน

8. ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ผลการจัดตั้ งและการขับเคลื่อนกิจกรรมศูนย์ผู้ นาจิตอาสาพัฒนาชุ มชนระดั บอาเภอ (ไตรมาส 2) ได้ ประชุมชีแ ้ จง การขับเคลื่อนกิจกรรมในการประชุมประจาเดือน และเน้นย้าให้พัฒนาการอาเภอ ดาเนินการต่อในระดับอาเภอ แผนงานที่จะดาเนิ นการต่ อไป ดาเนินการขับเคลื่อน ระดับอาเภอ 9.การขับเคลื่อนตั วชีว้ ัดกรมการพัฒนาชุ มชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตั วชีว้ ัดการประเมินส่ วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิ ทธิภาพในการปฏิบัติราชการ - มีคาสั่งแต่งตั้งผู้รบ ั ผิดชอบตัวชีว้ ัด

- จัง หวั ดสระบุ ร ี ได้ จัดประชุ ม ถ่ ายทอดตั ว ชี้วั ดและค่ าเป้ าหมายการประเมิ นผลการปฏิ บัติราชการของ

กรมการพัฒนาชุ มชน ให้ กับข้าราชการในสั งกั ดสานั กงานพัฒนาชุ มชนจังหวัดสระบุ ร ี จานวน 85 คน เมื่อวัน

พฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนสระบุร ี และ ลงนามคารับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัด สระบุร ีประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่าง พัฒนาการจังหวัดสระบุร ี กั บ ผู้อานวยการกลุ่มงานทั้ง 4 กลุ่มงาน และ

พั ฒ นาการอ าเภอ ทั้ ง 13 อ าเภอ เพื่ อ เป็ น กรอบการปฏิ บั ติ ร าชการ ให้ ไ ด้ ผ ลตามแผนปฏิ บั ติ ง านและแผน การใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี พ.ศ. 2565 ของกรมการพัฒนาชุมชน ติ ดตามและรายงานผลการดาเนิน ปัญหา/ อุปสรรค

แผนงานที่จะดาเนิ นการต่ อไป

ติดตาม/รายงานผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ตามกาหนด ตั วชีว้ ัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

รอบที่ 1 (1 ตุลาคม 2564 – 31 มีนาคม 2565) แบ่งเป็น

ตั วชีว้ ัดรายทีม จานวน 3 ตัวชีว้ ัด ได้แก่

ตัวชีว้ ัดที่ 1 ร้อยละของการใช้จา่ ยเง ินงบประมาณ

จังหวัดสระบุร ี มีผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ถึง ณ วันที่ 31 มกราคม 2565 ร้อยละ 21.86

ตั วชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสาเร็จของการบรรลุเป้าหมายการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จา่ ย

งบประมาณประจาปี 2565 อยู่ระหว่างดาเนินการ

ตั ว ชี้วั ด ที่ 3 ระดั บความส าเร็จในการเสร ิมสร้างความโปร่งใสในการด าเนิ นงานกรมการพั ฒนาชุ มชน ประจ าปี

พ.ศ. 2565

จั ง หวั ด สระบุ ร ี ด าเนิ น การแต่ ง ตั้ ง /มอบหมายเจ้ า หน้ า ที่ ด าเนิ น การขั บ เคลื่ อ นการสร้า งความโปร่ง ใสในการ ดาเนินงาน

ประเมินตนเอง/ว ิเคราะห์ผลการประเมินตนเอง อยู่ระหว่างการจัดทาแผน ตั วชีว้ ัดรายบุคคล จานวน 7 ตัวชีว้ ัด ดังนี้

ตัวชีว้ ัดที่ 1 ร้อยละของครัวเร ือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ากว่าเกณฑ์ จปฐ. ได้รบ ั การพัฒนา

อยู่ระหว่างดาเนินการ

ตัวชีว้ ัดที่ 2 ระดับความสาเร็จของการส่งเสร ิม สนับสนุน การจัดตั้งศูนย์จด ั การกองทุนชุมชน

อยู่ระหว่างดาเนินการ

ตัวชีว้ ัดที่ 3 ร้อยละของหมู่บ้านที่ได้รบ ั การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุขมวล

รวมเพิ่มขึ้น

อยู่ระหว่างดาเนินการ

ตัวชีว้ ัดที่ 4 ระดับความสาเร็จการบร ิหารจัดการหนี้กองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี (สกส.)

ผลการติดตามหนี้ค้างชาระกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี ตามตัวชีว้ ัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบที่ 1 จังหวัดบร ิหารจัดการหนี้เกินกาหนดชาระลดลงได้รอ ้ ยละ 10 จากหนี้เกิน กาหนดชาระ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2564

ตัวชีว้ ัดที่ 5 ระดับความสาเร็จของการสนับสนุนการสร้างสัมมาชีพชุมชน

อยู่ระหว่างดาเนินการ

ตัวชีว้ ัดที่ 6 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) โดยผ่านช่องทางออนไลน์

อยู่ระหว่างดาเนินการ

ตัวชีว้ ัดที่ 7 ระดับความสาเร็จของการใช้ประโยชน์ Big Data ของการพัฒนาชุมชน

สร้างความรูค ้ วามเข้าใจการใช้ประโยชน์ Big Data ให้กับบุคลากรและผูเ้ กี่ยวข้อง(Big Data Literacy) ประกอบด้วย ผู้อานวยการกลุ่มงาน ทุกกลุม ่ งาน พัฒนาการอาเภอ นักว ิชาการพัฒนาชุมชน และเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัด สระบุร ี ข้อเสนอแนะ

-ทีมงานนิเทศ ติ ดตาม และสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน/การดาเนินงาน

ตามค ารับ รองปฏิ บั ติ ร าชการและแผนปฏิ บั ติ ร าชการ ที่ ไ ด้ ร ับ การแต่ ง ตั้ ง ตามค าสั่ ง ส า นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชน ที่ 4/2565 ลงวัยนที่ 13 มกราคม 2565 ติ ดตามนิเทศ สนับสนุน การขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมพัฒนาชุมชน ตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน และจังหวัดสระบุร ีและรายงานผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ตัวชีว้ ัดตามภารกิจสาคัญของกรมการพัฒนาชุมชน จังหวัดสระบุร ี ได้ จด ั ประชุมถ่ายทอดตั วชีว้ ัดและค่าเป้าหมายการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรมการพัฒนาชุมชน

ให้กับข้าราชการในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน จานวน 85 คน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศูนย์ศึกษา

และพัฒนาชุมชนสระบุร ี พิธล ี งนามคารับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน และจังหวัดสระบุร ีประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่าง พัฒนาการจังหวัดสระบุร ี กั บ ผู้อานวยการกลุ่มงานทุกกลุ่มงาน และพัฒนาการอาเภอทั้ง 13 อาเภอ ว ชิ าการพั ฒนาชุ มชน เจ้าพนั กงานพั ฒนาชุ มชน จังหวั ด/อ าเภอ และเจ้าหน้ าที่ ในสั งกั ด โดยได้ เน้ นย้าเรอื่ งตั วชี้วั ด พัฒนาการจังหวัด และ ภารกิจสาคัญ 8 อย่าง ของกรมฯ ดังนี้

1) การขับเคลื่อนการดาเนินงานขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) การพัฒนาพื้นที่ศูนย์เร ียนรูช้ ุมชนต้ นแบบ โคก หนอง นา โมเดล 3) รายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) 4) การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

5) การติดตามเง ินทุนที่อยู่ระหว่างชาระคืนเง ินยืมตามสัญญา ปี 2564 โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) 6) การบร ิหารจัดการหนี้กองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี

7) การบร ิหารงานตามมาตรการส่ งเสร ิมและสนั บสนุ นการใช้และสวมใส่ ผ้ าไทย ตามมติ คณะรัฐมนตร ีเมื่ อวั นที่

9 มิถุนายน 2563

8) การพัฒนาบร ิการดิ จิทัลสาหรับประชาชนและส่ งเสร ิมการใช้ประโยชน์แพลตฟอร์มดิ จิทัล “Click ชุ มชน”เพื่อเป็น

กรอบการปฏิบัติราชการให้ได้ ผลตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณของกรมการพัฒนาชุมชน ติ ดตาม และรายงานผลการดาเนิน ปัญหา/อุปสรรค สรุปผลการใช้จา่ ยงบประมาณ

ภาคผนวก

ภาพกิจกรรมประกอบประเด็นตรวจราชการ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุร ี *****************************

1. การดาเนิ นงานโครงการภายใต้ กรอบนโยบายฟื้ นฟู เศรษฐกิ จและสั งคมของประเทศตามพระราชกาหนดให้

อานาจกระทรวงการคลังกู้เง ินเพื่อแก้ไขปัญหาเยียวยาและฟื้ นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้ ผลกระทบจากการระบาด ของโรคติ ดเชือ ้ ไวรัสโคโรนา

ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์ สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

โครงการพั ฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีว ิตตามหลัก

นางปัญรักษ์ จันทา ครัวเร ือนต้นแบบโคก หนอง นา พช. ตาบลหินซ้อน อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุร ี กล่าวความประทับใจ ขอบคุณเจ้าหน้าที่ พช. ทุกคน ทีต ่ นได้มโี อกาสเข้า ร่วมโครงการฯ นี้ ถ้าไม่ได้เป็นคนของ พช. จะไม่รเู ้ ลยว่ามีอะไรเกิดขึ้นในชุมชนบ้าง ขอบคุณพัฒนาชุมชนอย่างมาก ทีท ่ าให้ได้มีส่วนร่วมในโครงการฯ ได้มโี อกาสสานต่อการ

ทางานพัฒนาชุมชน

2. โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิ จพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

กิจกรรม สันทนาการเร ียนรูว้ ิถีเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม สันทนาการเร ียนรูว้ ิถีเศรษฐกิจพอเพียง

3. การดาเนินงาน “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” ตามพระดารสมเด็ ิ จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิร ิวัณณวร ี นาร ีรัตนราชกัญญา

4. การดาเนิ นการพัฒนาเศรษฐกิ จฐานรากและประชารัฐ

5. การดาเนินการแก้ไขปัญหาความยากจน การติดตาม ตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาการชาระเง ินยืมโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) หมู่ที่ 3 ตาบลคาพราน อาเภอวังม่วง จังหวัดสระบุร ี

การติดตาม ตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาการชาระเง ินยืมโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) หมู่ที่ 8 ตาบลคาพราน อาเภอวังม่วง จังหวัดสระบุร ี

6.. การดาเนินการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นายแมนรัตน์ รัตนสุคนธ์ ผู้วา่ ราชการจังหวัดสระบุร ี เป็นประธานประชุมขับเคลื่อนการดาเนินงานขจัดความ ยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนในระดั บพื้นที่ของจังหวัดสระบุร ี

สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุร ี ประชุมสร้างความรูค ้ วามเข้าใจแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานฯ และการใช้งานระบบ TPMAP แก่ทีมพี่เลี้ยงอาเภอวังม่วง

7. การดาเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี

8. การดาเนินการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ประชุมคณะกรรมการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุก

ช่วงวัยอย่างยั่งยืน

ประชุมคณะกรรมการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุก ช่วงวัยอย่างยั่งยืน

ประชุมคณะกรรมการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุก ช่วงวัยอย่างยั่งยืน

ประชุมคณะกรรมการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุก ช่วงวัยอย่างยั่งยืน

ประชุมคณะกรรมการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุก ช่วงวัยอย่างยั่งยืน

ผู้อานวยการกลุ่มงานฯ 4 กลุ่มและนักว ิชาการ รับผิดชอบ โซนอาเภอ

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดสระบุร ี

ติดตาม สนับสนุน การ Re check ข้อมูลทุกอาเภอ

ผู้อานวยการกลุ่มงานฯ 4 กลุ่มและนักว ิชาการ รับผิดชอบ

วางแผนร่วมกันกับสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง

โซนอาเภอ

ของมนุษย์จงั หวัดสระบุร ี

9. ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน

พิธเี ปิดศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน เมื่อ 1

พิธเี ปิดศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ณ ตลาดหัวปลี อ.เฉลิมพระเกียรติ

สระบุร ี

10. การขับเคลื่อนตัวชีว้ ัดกรมการพัฒนาชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.