E book Flipbook PDF

E book
Author:  T

7 downloads 155 Views 87MB Size

Recommend Stories


Review Cure Su Ciatica pdf book free download
Review Cure Su Ciatica pdf book free download >-- Click Here to Download Cure Su Ciatica Now --< >-- Click Here to Download Cure Su Ciatica Now --

Manual de usuario E-Book TFT 7
Manual del Usuario Manual de usuario E-Book TFT 7” Índice 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. Introducción Información sobre la Seguridad Características Accesori

BIENVENIDOS AL E-BOOK DE BEST DOCTORS
|1 BIENVENIDOS AL E-BOOK DE BEST DOCTORS En este e-Book encontrarás nuestros productos, servicios exclusivos y todo lo que necesitas saber acerca de

BOOK REVIEWS
Asclepio. Revista de Historia de la Medicina y de la Ciencia 67 (2), julio-diciembre 2015, p118 ISSN-L:0210-4466 http://asclepio.revistas.csic.es RES

Story Transcript

5 9 1 1 0 1 1 0 3 0 0 1 5

T H E

PORTF OL I O panuhomt ua

ART EDU CAT I ON

S UANDUS I TUNI VE RS I TY

¤ Ó ¹ Ó á ¿‡ Á Ê Ð Ê Á ¼ Å § Ò ¹( Po r t f o l i o )à Å Á ‹ ¹ ¨ é Õ ´ Ñ · Ó ¢ ¹ é Ö à ¾× Í è à » ¹ š µ Ç Ñ á · ¹ ã ¹ ¡ Ò Ã ¹ Ó à Ê ¹ Í ¢ Í Œ Á Å Ù ¢ Í § ¢ Ò Œ ¾à ¨ Ò Œ à ¡  è Õ Ç ¡ º Ñ ¡ Ò Ã ½ ¡ ƒ » ¯ º Ô µ Ñ ¡ Ô Ò Ã Ê Í ¹ ã ¹ Ê ¶ Ò ¹ È ¡ Ö É Òà · Í Á1» ¡ ‚ Ò Ã È ¡ Ö É Ò2 5 6 3³â à § à Ã Â Õ ¹ Ç ´ Ñ º Ò § ¾Å ´ Ñ ( » . Ê Ç Ø ³â ³)» à Р¡ Í º ä » ´ Ç Œ » Ã Ð Ç µ Ñ Ê Ô Ç ‹ ¹ µ Ç Ñ ¢ Í § ¨ Œ Ù ´ Ñ · Óµ Ò Ã Ò § Ê Í ¹ » ¡ ‚ Ò Ã È ¡ Ö É Ò1 / 2 5 6 3¢ Í Œ Á Å Ù ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹á ¼ ¹ ¡ Ò Ã ¨ ´ Ñ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ à Œ Ù Ç ª Ô Ò · È Ñ ¹ È  Å Ô » Š ¡ Ò Ã ¨ ´ Ñ ¡ ¨ Ô ¡ à à Á · Ò § È Å Ô » Ðá Å Ð ¡ ¨ Ô ¡ à à Á · ¼ è Õ ¨ Œ Ù ´ Ñ · Ó ä ´ à Œ ¢ Ò Œ Ã Ç ‹ Á

· § é Ñ ¹ ¼ é Õ ¨ Œ Ù ´ Ñ · Ó ¢ Í ¢ Í º ¤ ³Ã Ø È . ´ à . à ¹ Í é × Í Í ‹ ¹¢ Ã Ç Ñ · Í § à ¢ Â Õ Çá Å Ð ¤ à ¾Õ Ù à è Å Â é Õ §¹ Ò Â Ê Ã Ã ¸ ¡ Ä µã Ê Ê ´ È Ã Õ · ª è Õ Ç ‹  à Ë Å Í × ã Ë ¤ Œ Ó á ¹ Ð ¹ Ó ã ¹ ¡ Ò Ã Ã Ç º Ã Ç Á à Í ¡ Ê Ò Ã Ë Å ¡ Ñ ° Ò ¹Ã Ç Á ¶ § Ö ¢ Í Œ Á Å Ù · à è Õ » ¹ š » à Рâ  ª ¹ Í Â Ò ‹ §  § è Ô ã ¹ ¡ Ò Ã ¨ ´ Ñ · Ó á ¿‡ Á Ê Ð Ê Á ¼ Å § Ò ¹ ¹ é Õ

¹ Ò Â À Ò ³Ø Ë Í Á · Ç è Ñ ¹ ¡ Ñ È ¡ Ö É Ò ½ ¡ ƒ » Ã Ð Ê º ¡ Ò Ã ³ Ê Í ¹

Ê Ò Ã º Þ Ñ par t1 »Ã Ð Ç µ Ñ Ê Ô Ç ‹ ¹ µ Ç Ñ Ã Ò § Ê Í ¹ À Ò ¤ à Ã Â Õ ¹ · è Õ 1 / 2 5 6 3 par t2 µÒ Í Œ Á Å Ù ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t3 ¢ Å Á ‹ º ¹ Ñ · ¡ Ö » à Рà Á ¹ Ô ¼ Å par t4 à à ¨ ´ Ñ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ Ã Ç Œ Ù ª Ô Ò · È Ñ ¹ È Å Ô » ì par t5 á¼¹¡Ò ¾¡ ¨ Ô ¡ à à Á á Å Ð ¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t6 ÀÒ

par t7 Ç ¨ Ô Â Ñ ã ¹ ª ¹ é Ñ à Ã Â Õ ¹ par t8 â ¤ à § ¡ Ò Ã ¾Ñ ²¹ Ò ¼ à Œ Ù Ã Â Õ ¹

Ê Ò Ã º Þ Ñ par t1 »Ã Ð Ç µ Ñ Ê Ô Ç ‹ ¹ µ Ç Ñ Ã Ò § Ê Í ¹ À Ò ¤ à Ã Â Õ ¹ · è Õ 1 / 2 5 6 3 par t2 µÒ Í Œ Á Å Ù ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t3 ¢ Å Á ‹ º ¹ Ñ · ¡ Ö » à Рà Á ¹ Ô ¼ Å par t4 à à ¨ ´ Ñ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ Ã Ç Œ Ù ª Ô Ò · È Ñ ¹ È Å Ô » ì par t5 á¼¹¡Ò ¾¡ ¨ Ô ¡ à à Á á Å Ð ¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t6 ÀÒ

par t7 Ç ¨ Ô Â Ñ ã ¹ ª ¹ é Ñ à Ã Â Õ ¹ par t8 â ¤ à § ¡ Ò Ã ¾Ñ ²¹ Ò ¼ à Œ Ù Ã Â Õ ¹

Ê Ò Ã º Þ Ñ par t1 »Ã Ð Ç µ Ñ Ê Ô Ç ‹ ¹ µ Ç Ñ Ã Ò § Ê Í ¹ À Ò ¤ à Ã Â Õ ¹ · è Õ 1 / 2 5 6 3 par t2 µÒ Í Œ Á Å Ù ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t3 ¢ Å Á ‹ º ¹ Ñ · ¡ Ö » à Рà Á ¹ Ô ¼ Å par t4 à à ¨ ´ Ñ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ Ã Ç Œ Ù ª Ô Ò · È Ñ ¹ È Å Ô » ì par t5 á¼¹¡Ò ¾¡ ¨ Ô ¡ à à Á á Å Ð ¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t6 ÀÒ

par t7 Ç ¨ Ô Â Ñ ã ¹ ª ¹ é Ñ à Ã Â Õ ¹ par t8 â ¤ à § ¡ Ò Ã ¾Ñ ²¹ Ò ¼ à Œ Ù Ã Â Õ ¹

Ê Ò Ã º Þ Ñ par t1 »Ã Ð Ç µ Ñ Ê Ô Ç ‹ ¹ µ Ç Ñ Ã Ò § Ê Í ¹ À Ò ¤ à Ã Â Õ ¹ · è Õ 1 / 2 5 6 3 par t2 µÒ Í Œ Á Å Ù ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t3 ¢

2 / 2 5 6 3

Å Á ‹ º ¹ Ñ · ¡ Ö » Ã Ð à Á ¹ Ô ¼ Å par t4 à

à ¨ ´ Ñ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ Ã Ç Œ Ù ª Ô Ò · È Ñ ¹ È Å Ô » ì par t5 á¼¹¡Ò ¾¡ ¨ Ô ¡ à à Á á Å Ð ¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t6 ÀÒ

par t7 Ç ¨ Ô Â Ñ ã ¹ ª ¹ é Ñ à Ã Â Õ ¹ par t8 â ¤ à § ¡ Ò Ã ¾Ñ ²¹ Ò ¼ à Œ Ù Ã Â Õ ¹

ตารางสอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1- 3 ภาคเรียนที่ 2-2563 ผู้สอน นายภาณุ หอมทั่ว วัน

07.30- 08.30- 09.30- 10.30- 11.30- 12.20- 13.20- 14.20- หมายเหตุ 08.30 น. 09.30 น. 10.30 น. 11.30 น. 12.20 น. 13.20 น. 14.20 น. 15.20 น.

เวลา จันทร์

พุธ

พฤหัสบดี

ศุกร์

HOME ROOM

อังคาร

ศิลปะ ป.3/2

ลส-ยุว ป.3

พักทารอาหารกลางวัน

ศิลปะ ป.2/1 ศิลปะ ป.2/2 ศิลปะ ป.1/1

ศิลปะ ป.1/2

ศิลปะ ป.3/1 ชมรม คุณธรรมต้ าน ทุจริต

Ê Ò Ã º Þ Ñ par t1 »Ã Ð Ç µ Ñ Ê Ô Ç ‹ ¹ µ Ç Ñ Ã Ò § Ê Í ¹ À Ò ¤ à Ã Â Õ ¹ · è Õ 1 / 2 5 6 3 par t2 µÒ Í Œ Á Å Ù ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t3 ¢

2 / 2 5 6 3

Å Á ‹ º ¹ Ñ · ¡ Ö » Ã Ð à Á ¹ Ô ¼ Å par t4 à

à ¨ ´ Ñ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ Ã Ç Œ Ù ª Ô Ò · È Ñ ¹ È Å Ô » ì par t5 á¼¹¡Ò ¾¡ ¨ Ô ¡ à à Á á Å Ð ¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t6 ÀÒ

par t7 Ç ¨ Ô Â Ñ ã ¹ ª ¹ é Ñ à Ã Â Õ ¹ par t8 â ¤ à § ¡ Ò Ã ¾Ñ ²¹ Ò ¼ à Œ Ù Ã Â Õ ¹

รายชื่อนักเรียนช้ นประถมศึกษาปี ที่ 1/1 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

เลขประจาตัว 10626 10725 10727 10730 10733 10734 10735 10736 10754 10758 10762 10868 10884 10673 10741 10743 10748 10749 10764 10766 10769 10773 10882 10934

ชื่อ-นามสกุล เด็กหญิงอธิชา เอี่ยมพงษ์ เด็กหญิงศรันย์พร คาศรี เด็กหญิงพชร อ่วมอิ่มพืช เด็กหญิงปิ ยมน สายบัว เด็กหญิงณัฐณิชา อุ้มญาติ เด็กหญิงกันต์ฤทัย สุทธิคณะ เด็กหญิงนิรชา สาระพันธ์ เด็กหญิงกัญญาภัทร สนธิธรรม เด็กหญิงพรนิภา เด็กหญิงทักษอร ธรรมสิทธิ์ เด็กหญิงจันจิรา ใชยคาภู เด็กหญิงมณภัทร ขาวสบาย เด็กหญิงดวงกมล คาอินทร์ เด็กชายอชิตพล เอี่ยมพงษ์ เด็กชายจิรภัทร แตงโสภา เด็กชายพัชรพล สิทธิเดช เด็กชายกิตติพัทธ์ อินทอง เด็กชายธนกฤต ชูจิต เด็กชายกรวิชญ์ เมืองโคตร เด็กชายธนาภัทร ทองต่วน เด็กชายอัครเดช อุปวัฒนกุล เด็กชายสุธน บันก้ านแก้ ว เด็กชายชนกชล กลิ่นฉุย เด็กชายธนชัย ตวงครบุรี นางณิชาดา แก้ วมะเรือง ครูประจาชั้น หญิง 13 ชาย 11 รวม 24

รายชื่อนักเรียนช้ นประถมศึกษาปี ที่ 1/2 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

เลขประจาตัว 10728 10729 10732 10737 10751 10752 10755 10756 10757 10760 10786 10761 10731 10883 10738 10740 10744 10745 10747 10750 10763 10767 10770 10772 10774 10923

ชื่อ-นามสกุล เด็กหญิงวัชรพร แพทย์มด เด็กหญิงพิมมาดา มั่นคง เด็กหญิงกานต์ชนก รุ่งวัฒน์ เด็กหญิงอรอนงค์ คงวัดใหม่ เด็กหญิงวารินท์ เฉลิมโยธิน เด็กหญิงมณีรัตน์ ไกรสุข เด็กหญิงศิริกลั ยา ดอกจันทร์ เด็กหญิงธนิกา สุวรรณแสน เด็กหญิงพลอยลดา วีรพัฒน์ร่งุ เดช เด็กหญิงเกวลิน รัตนนุภาพพจน์ เด็กหญิงอาภัสรา กทิศาสตร เด็กหญิงณัฐฤชา สายบุตร เด็กหญิงกัญญาภัทร บุญจิตร์ เด็กหญิงสุธีมนต์ แก้ วปา เด็กชายชนะชน เมลวิน เด็กชายระพีพัฒน์ ชินบุตร์ เด็กชายณเดช เด็กชายชุติวัต สุกจิ พิทยานันท์ เด็กชายคุณาธิป สัมพันธ์แพ เด็กชายวีรวุฒิ พรมอุนาถ เด็กชายวัสชระวิท เทพชมพู เด็กชายปัณณวัฒน์ ไขแสงจันทร์ เด็กชายธนทรัพย์ สายัญ เด็กชายฑีฆายุ แก้ วพารา เด็กชายเป็ นเอก ศรีเดชะ เด็กชายบดินทร์ภัทร ปลอดโปร่ง นางสุรางค์ อิทธิวรากร ครูประจาชั้น หญิง 14 ชาย 12 รวม 26

รายชื่อนักเรียนช้ นประถมศึกษาปี ที่ 2/1 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

เลขประจาตัว 10535 10631 10632 10633 10647 10648 10661 10791 10792 10881 10532 10534 10558 10635 10638 10639 10640 10649 10651 10652 10657 10664 10666 10668 10671 10688 10724 10778 10880

ชื่อ-นามสกุล เด็กหญิงนิศาชล ท้วมเกิด เด็กหญิงอริสา วงษ์มณี เด็กหญิงศรินทิพย์ เกตุแก้ ว เด็กหญิงฟ้ ารุ่ง แพทย์มด เด็กหญิงนันทิดา กุนหอม เด็กหญิงกุลชาดา อุ้มญาติ เด็กหญิงฐิตารีย์ เมฆมาณุรักษ์ เด็กหญิงปราฯวรินทร์ มณีวรรณ เด็กหญิงพิมชนก ศรีแสงรัตน์ เด็กหญิงฐิตา ศรีคง เด็กชายอนันตชัย เจ็ดรัมย์ เด็กชายศิริศักดิ์ บุญพันธุ์ เด็กชายธันยธรณ์ เชื้อไทย เด็กชายบดินทร์ ชัยเขมจิตต์ เด็กชายพงศพัศ การินทร์ เด็กชายกฤตานนท์ รักงาม เด็กชายชนะพล ปาจิตน์ เด็กชายทรงกฤษณ์ รื่นรัมย์ เด็กชายณัฐวัฒน์ มงคงชัยฤกษ์ ด็กชายจาตุรันต์ แก้ วเจริญ เด็กชายตนัย แจ่มสาย เด็กชายพัชรวิศว์ เลิศพิภพ เด็กชายเทพบณฑิต สุดขา เด็กชายธนวัฒน์ คงแสง เด็กชายประภัสร์ ขมมอญ เด็กชายณิชคุน สุวรรณน้ อย เด็กชายปัญญา ชาญสูงเนิน เด็กชายสกลวรรธ์ ตะระสาน เด็กชายชยางกูร กลิ่นฉุย

รายชื่อนักเรียนช้ นประถมศึกษาปี ที่ 2/2 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

เลขประจาตัว 10544 10627 106430 10644 10663 10693 10723 10376 10575 10576 10636 10637 10642 10653 10654 10655 10665 10667 10669 10670 10672 10674 10722 10790 10793 10794 10866 10921 10931

ชื่อ-นามสกุล เด็กหญิงธัญญลักษณ์ จันเต เด็กหญิงสุพิชชา สัตยบัณฑิต เด็กหญิงภัสสร สุขศรีทอง เด็กหญิงณัฐกาญจน์ เนตรวิเชียร เด็กหญิงนฤวรรณ สืบสุข เด็กหญิงณัฐธยาน์ พุทรอินศร เด็กหญิงศิริลักษณ์ ดอนถวิล เด็กชายอนาวิน เอี่ยมพงษ์ เด็กชายพงศกร กิจสอ เด็กชายพิชญุตม์ ทับทอง เด็กชายธันวา โบว์สกุล เด็กชายจักริน ดงดี เด็กชายอดิทศั วงษ์สมุทร เด็กชายกนต์ธรี ์ น้ อยปรางค์ เด็กชายคมสันต์ ธรรมสิทธิ์ เด็กชายเจษฏาภรณ์ คาจริง เด็กชายจักริน ปวงกระโทก เด็กชายอนนต์ มิ่งเมือง เด็กชายพชร อ่าอาญวณ เด็กชายเจตริน จูหลี เด็กชายกิตติศักดิ์ ริ้วงาม เด็กชายทิวากร มั่งมี เด็กชายญาณากร รอดรัตน์ เด็กชายไตรรัตน์ จรูญดารงธรรม เด็กชายธนา บุญสมบัติ เด็กชายภูวดล นาคเจริญ เด็กชายธนพัฒน์ ปานคา เด็กชายธิปธนัชญ์ นุตพันธุ์ เด็กชายอัษศดิณย์ อับดุลเลาะ

รายชื่อนักเรียนช้ นประถมศึกษาปี ที่ 3/1 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

เลขประจาตัว 10437 10458 10459 10460 10516 10517 10521 10541 10564 10565 10684 10798 10878 10933 10421 10422 10423 10446 10527 10530 10552 10553 10573 10679 10713 10714 10718 10795 10879

ชื่อ-นามสกุล เด็กหญิงปรีญา หม่องสนธิ เด็กหญิงภัทราวดี ทรัพย์ไพบูลย์สุข เด็กหญิงปรายฉัตร สุวรรณ์ เด็กหญิงอารียา คูหาเรือง เด็กหญิงปรียานุช สุขฉิม เด็กหญิงอนัญญา แพรัตน์ เด็กหญิงมณีทพิ ย์ กรองใจ เด็กหญิงพรนิภา อ่วมอิ่มพิช เด็กหญิงอรวรรยา อู่เจ๊ก เด็กหญิงพริมรตา ดาสาลี เด็กหญิงธนิสร บุดตา เด็กหญิงกัญญาพัชร กล่อมกลิ่น เด็กหญิงเขมิกา สิงห์ทอง เด็กหญิงนฤมล ยันต์มงคล เด็กชายวีรดนย์ คาเสียง เด็กชายดุลยวิทย์ สวัสดี เด็กชายปัณณวิชญ์ กันบุตร เด็กชายธนภัทร แก้ วผลึก เด็กชายเสฏฐวุฒิ ดอนผาคา้ เด็กชายพีรภาส บุญสาร เด็กชายอานนท์ กาเนิด เด็กชายกันตพงษ์ ช่วงวานิช เด็กชายเตชิต จัทร์โท เด็กชายก้ องภพ ประสิทธิ์สนิ เด็กชายธนิน ผลสุวรรณ เด็กชายภพสรรค์ ชยางกูร ณ อยุธยา เด็กชายเอกรัตน์ ปานหงศา เด็กชายนพรัตน์ การสร้ าง เด็กชายวราวุฒิ แตงกระโทก

30

เด็กชายซันยังบิน นางสาวธนัฏฐา มงคลกิจชัย ครูประจาชั้น หญิง 14 ชาย 16 รวม 30

รายชื่อนักเรียนช้ นประถมศึกษาปี ที่ 3/2 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

เลขประจาตัว 10518 10537 10539 10542 10559 10561 10562 10567 10568 10680 10683 10689 10780 10424 10427 10444 10445 10466 10467 10468 10533 10548 10569 10571 10678 10715 10796 10865 10932

ชื่อ-นามสกุล เด็กหญิงนัฐกานต์ วงษ์ห้วยแก้ ว เด็กหญิงกฤษณา นาระโต เด็กหญิงยศวดี จันหง่อม เด็กหญิงพัชราภา ยอดพินิจ เด็กหญิงสุจิรา แพงศรี เด็กหญิงภัคญาดา จินทรักษา เด็กหญิงศรัญญา คาศรี เด็กหญิงชลลดา รัตนก้ วเกล้ า เด็กหญิงพรัชดา ลาปา เด็กหญิงอารยา กลิ่นจิตร์ เด้ กหญิงนริศรา รัตนทัศนีย์ เด็กหญิงวรัทยา ดวงเดช เด็กหญิงวราสิณี หาญรุ่งเรืองกิจ เด็กชายพิชญะ อ่าอาอวญ เด็กชายสหรัฐ งอนชัยภูมิ เด็กชายอานนท์ เงินนาค เด็กชายจิรพัฒน์ เกตุคา เด็กชายอนุสร กาเหนิด เด็กชายชัชพล ชรินทร์ เด้ กชายปัณณวรรธ ลิ้มแก้ วทวีชัย เด็กชายศิริเชษฐ์ สี่เล็กสุวรรณ เด็กชายกิตติธัช หว่างบุญ เด็กชายธนบูลย์ เกิดศรีเล็ก เด็กชายชนะชัย หงส์ทอง เด็กชายกมลลาสน์ ตาสุวรรณ เด็กชายขจรศักดิ์ รอดชัยภูมิ เด้ กชายกฤษกร ทับทิมหิน เด็กชายภาคิน เผ่าดวงดี เด็กชายวรวุฒิ แก้ วดวงจันทร์

30

10776

เด็กชายสุรัช แจ้ งดี นางสาวเพลินพิศ แก้ ววิชิต ครประจาชั้น หญิง 13 ชาย 17 รวม 30

Ê Ò Ã º Þ Ñ par t1 »Ã Ð Ç µ Ñ Ê Ô Ç ‹ ¹ µ Ç Ñ par t2 Í Œ Á Å Ù ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t3 ¢

4

2 / 2 4 6 3

Å Á ‹ º ¹ Ñ · ¡ Ö » Ã Ð à Á ¹ Ô ¼ Å par t4 à

à ¨ ´ Ñ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ Ã Ç Œ Ù ª Ô Ò · È Ñ ¹ È Å Ô » ì par t5 á¼¹¡Ò ¾¡ ¨ Ô ¡ à à Á á Å Ð ¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹ par t6 ÀÒ

par t7 Ç ¨ Ô Â Ñ ã ¹ ª ¹ é Ñ à Ã Â Õ ¹ par t8 â ¤ à § ¡ Ò Ã ¾Ñ ²¹ Ò ¼ à Œ Ù Ã Â Õ ¹

แผนการสอน ป.1

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เล่นสีน้ากันดีกว่า

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 สีน้าและแม่สี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

****************************************************************************************************** *

1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ตัวชี้วัด ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะสีน้าและแม่สี (K) 2. ผสมแม่สีให้เป็นสีขั้นที่ 2 (P) 3. เห็นประโยชน์ของสีน้า (A) 4. สาระสาคัญ สีน้าเป็นสีโปร่งแสงผสมน้าโดยใช้พู่กันระบาย แม่สีมี 3 สี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง และสีน้าเงิน

5. สาระการเรียนรู้ 1. สีน้า 2. แม่สี

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน ฝึกการผสมแม่สีให้ได้สีใหม่ (สีขั้นที่ 2)

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง มื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อธิ บ ายลั ก ษณะสี น ้ าและ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม แม่สี (K)

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ ผสมแม่สีให้เป็นสีขั้นที่ 2 (P) ภาระงาน

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึน้ ไป

ด้านพฤติกรรม(A)

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ . เห็นประโยชน์ของสีน้า คาถาม

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประสบการณ์การการใช้สี โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - นักเรียนเคยใช้สีหรือไม่ (เคย / ไม่เคย) - ถ้าเคย เคยใช้สีอะไร และใช้ทาอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ใช้สีไม้ระบายสี) ขั้นสอน 2. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสีน้า โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - เมื่อนึกถึงคาว่า สีน้า จะนึกถึงอะไรบ้าง (พู่กัน , หลอด , บีบ , ผสมน้า) ครูและนักเรียนร่วมกันบันทึกคาตอบเป็นแผนภาพลงบนกระดาน ดังนี้

สีนำ้

3. ครูนาสีน้ามาให้นักเรียนดูและอธิบายว่า สีน้าเป็นสีโปร่งแสงผสมน้าแล้วใช้พู่กันระบายบนกระดาษ มีหลายสี มีทั้งแบบหลอดและแบบกล่อง 4. ครูอธิบายว่า แม่สีมี 3 สี ได้แก่ สีแดง สี เหลือง และสีน้าเงิน จากนั้นให้ นักเรียนแสดงความ คิดเห็นโดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้ - ในธรรมชาติมีสิ่งใดบ้างที่มีสีเหมือนแม่สี

5. ครูอธิบายว่า เมื่อนาแม่สีมาผสมกันจะได้สีต่างๆ จากนั้นให้ครูสาธิตการผสมแม่สีในอัตราส่วนเท่ากัน โดยมีลาดับดังนี้ - ใช้สีน้าเงิน + สีแดง จากนั้นถามนักเรียนว่า สีที่ได้เป็นสีอะไร (สีม่วง) - ใช้สีแดง + สีเหลือง จากนั้นถามนักเรียนว่า สีที่ได้เป็นสีอะไร (สีส้ม) - ใช้สีเหลือง + สีน้าเงิน จากนั้นถามนักเรียนว่า สีที่ได้เป็นสีอะไร (สีเขียว) - ใช้สีน้าเงิน + สีแดง + สีเหลือง จากนั้นถามนักเรียนว่า สีที่ได้เป็นสีอะไร (สีดา) 6. ให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ในการผสมสีน้าให้เกิดสีขั้นที่ 2 ได้แก่ จานสี สีน้า พู่กัน แก้วน้าสาหรับ ใส่น้าล้างพู่กัน จากนั้นให้นักเรียนระบายสีขั้นที่ 1 จากนั้นผสมสีขั้นที่ 2 และผสมทั้ง 3 สี แล้วระบายลงใน กระดาษวาดเขียน ดังนี้ แม่สี

สีน้าเงิน สีแดง สีเหลือง

สีขั้นที่ 2 น้าเงิน ผสม แดง

แดง เป็นม่วง ผสม

เหลือง ผสม

เหลือง เป็นส้ม น้าเงิน เป็นเขียว

7. หลังจากทากิจกรรมศิลปะเสร็จแล้วให้เก็บวัสดุ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย ขั้นสรุป 8. ให้นักเรียนร่วมกันน าเสนอผลงานการผสมสีและร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า สี ที่ผสมมามีความ ถูกต้องหรือไม่ อย่างไร 9 นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ สีน้าเป็นสีโปร่งแสงผสมน้าโดยใช้พู่กันระบาย สีน้าสามารถนามา ผสมกันให้เกิดเป็นสีต่างๆ ได้

11. สื่อการเรียนรู้ สีน้า พู่กัน จานสี แก้วน้าล้างพู่กัน แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน









คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 16 -20 ดี คะแนน 12-15 ปานกลาง ต่ากว่า 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๓ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๒ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน

ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ประกอบ มีการน าองค์ประกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีครบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจัดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อ ื ่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

คุณลักษณะ

ม ี ว ิ นั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เ ร ี ย บ ร ้ อ ย เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย

กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เล่นสีน้ากันดีกว่า

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้า

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

****************************************************************************************************** * 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจิ นตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ตัวชี้วัด ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายวิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้า (K) 2. แสดงวิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้า (P) 3. เห็นประโยชน์ของวัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้า (A)

4. สาระสาคัญ วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้ามีหลายชนิดแต่ละชนิดมีวิธีใช้แตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรใช้วัสดุอุปกรณ์ให้ ถูกต้องเพื่อให้งานทัศนศิลป์มีความสวยงาม

5. สาระการเรียนรู้ วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้า

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน แสดงวิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้า

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อธิ บ ายวิ ธ ี ก ารใช้ ว ั ส ดุ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม อุปกรณ์ในการใช้สีน้า

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ แ ส ด ง ว ิ ธ ี ก า ร ใ ช ้ ว ั ส ดุ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน อุปกรณ์ในการใช้สีน้า

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ เห็ น ประโยชน์ ข องวั ส ดุ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม อุปกรณ์ในการใช้สีน้า

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ครูนาภาพผลงานทัศนศิลป์ที่ระบายด้วยสีน้ามาให้นักเรียนดูและถามนักเรียนว่า การวาดภาพ ผลงาน นี้ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ใดบ้าง (สีน้า กระดาษวาดเขียน จานสี พู่กัน ถ้วยพลาสติก ดินสอและยางลบ) ขั้นสอน 2. ครูนาอุปกรณ์ในการใช้สีน้ามาให้นักเรียนดูและอธิบายวิธีใช้ซึ่งมี ดังนี้ สีน้า กระดาษวาดเขียน จานสี พูก่ ัน ถ้วยพลาสติก ดินสอและยางลบ 3. ครูอธิบายเกี่ยวกับพู่กัน ดังนี้ พู่กันมีหลายขนาด พู่กันเบอร์ที่มีเลขน้อยจะมีขนาดเล็ก เบอร์ที่มีเลข มากจะมีขนาดใหญ่ - พู่กันเบอร์ 3 ใช้ตัดเส้นหรือเก็บส่วนละเอียดของภาพ - พู่กันเบอร์ 6 ใช้ระบายตัวสัตว์ บ้านเรือน - พู่กันเบอร์ 8 และ 12 ใช้ระบายพื้นที่กว้างๆ เช่น พื้นน้า พื้นดิน 4. ให้นักเรียนจับคู่บัตรคาชื่อวัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้ากับของจริง 5. ให้นักเรียนสังเกตการสาธิตการใช้พู่กัน จากนั้นให้นั กเรียนฝึกจับพู่ กันให้ถูกต้อ ง โดยมีครูคอย ตรวจสอบ 6. ให้นักเรียน ๕ คน ออกมาสาธิตวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการใช้สีน้า และนักเรียนร่วมกันแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้า ดังนี้ - การใช้อุปกรณ์ที่ถูกต้องมีประโยชน์อย่างไร (ทาให้ผลงานสวยงาม) - ถ้าใช้อุปกรณ์ที่ไม่ถูกต้องจะเกิดผลอย่างไร (ผลงานไม่สวยงาม)

ขั้นสรุป 7. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีน้ามี หลายชนิดแต่ละชนิดมีวิธีใช้แตกต่าง กัน ดังนั้นจึงควรใช้วัสดุอุปกรณ์ให้ถูกต้องเพื่อให้งานทัศนศิลป์มีความสวยงาม

11. สื่อการเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ภาพผลงานทัศนศิลป์ สีน้า กระดาษวาดเขียน จานสี พู่กัน ถ้วยพลาสติก

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เล่นสีน้ากันดีกว่า

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 การประดิษฐ์อุปกรณ์ง่ายๆด้วยตนเอง

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

****************************************************************************************************** * 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2. ตัวชี้วัด ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายวิธีประดิษฐ์พู่กันจากเศษวัสดุ (K) 2. ประดิษฐ์พู่กันจากเศษวัสดุ (P) 3. ตระหนักเห็นความสาคัญของการใช้เศษวัสดุมาประดิษฐ์เป็นพู่กัน (A)

4. สาระสาคัญ การนาเศษวัสดุเหลือใช้และวัสดุธรรมชาติมาประดิษฐ์เป็นพู่กันจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและเป็นการฝึก ความคิดสร้างสรรค์

5. สาระการเรียนรู้ การประดิษฐ์อุปกรณ์ในการระบายสีน้าด้วยตนเอง

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน ประดิษฐ์พู่กันจากเศษวัสดุ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อธิบายวิธีประดิษฐ์พู่กันจาก ผ่านเกณฑ์เฉลี ่ย 2 ขึ้น คาถาม เศษวัสดุ ไป

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ ประดิษฐ์พู่กันจากเศษวัสดุ (P) ภาระงาน

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ผ่านเกณฑ์เฉลี ่ย 2 ขึ้น ไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ ตระหนั ก เห็ น ความส าคั ญ ผ่านเกณฑ์เฉลี ่ย 2 ขึ้น คาถาม ของการใช ้ เ ศษว ั ส ดุ ม า ไป ประดิษฐ์เป็นพู่กัน

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ครูนาพู่กันใส่ในกล่องปริศนาที่ทึบและมีรูขนาดกว้างพอให้มือของนักเรียนเข้าได้ 2. ให้นักเรียน 3 – 5 คน ออกมาคลาสิ่งที่อยู่ในกล่อง จากนั้นให้วาดบนกระดานแล้วให้เพื่อนทาย 3. ครูเฉลยว่าเป็นพู่กัน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า ถ้าไม่มีพู่กันจะนาวัสดุใดใน ธรรมชาติมาประดิษฐ์เป็นพู่กันได้หรือไม่ ถ้าได้ควรใช้วัสดุอะไรทา ขั้นสอน 4. ครูนาเศษวัสดุต่างๆ และวัสดุธรรมชาติ มาให้นักเรียนดู ดังนี้ กิ่ งไม้ เศษผ้า เชือก สาลี ใบไม้ ยางรัดของที่ใช้แล้ว 5. ครูสาธิตการประดิษฐ์พู่กันโดยครูนากิ่งไม้ สาลี และเศษผ้า จากนั้นให้นักเรียนเลือกเศษวัสดุและ วัสดุธรรมชาติที่จะนามาใช้ประดิษฐ์พู่กัน แล้วให้ลงมือประดิษฐ์พู่กัน 6. เมื่อประดิษฐ์เสร็จแล้วให้นักเรียนออกมาเล่าว่า ใช้วัสดุ อุปกรณ์อะไรบ้าง และรู้สึกอย่างไรที่ประดิษฐ์ ได้ด้วยตนเอง จากนั้นให้เพื่อนๆ ร่วมแสดงความคิดเห็นว่ามีข้อควรปรับปรุงอย่างไร 7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - การประดิษฐ์พู่กันจากวัสดุธรรมชาติมีประโยชน์อย่างไร (ประหยัดค่าใช้จ่าย ฝึกความคิด สร้างสรรค์) ขั้นสรุป 8. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การนาเศษวัสดุเหลือใช้ และวัสดุธรรมชาติมาประดิษฐ์เป็นพู่กันจะ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและเป็นการฝึกความคิดสร้างสรรค์

11. สื่อการเรียนรู้ 1. เศษวัสดุ เศษผ้า เชือก สาลี ยางรัดของ 2. วัสดุธรรมชาติ กิ่งไม้ ใบไม้ 3. พู่กัน

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การออกแบบ ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ.............................

คะแนน 16 -20 ดี คะแนน 12-15 ปานกลาง ต่ากว่า 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๓ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๒ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ใช้ ผลงานไม่ เ สร็ จ และไม่ ผลงาน ใ ช ้ ง า น ไ ด ้ จ ร ิ ง ใช้งานได้จริง งานได้ แต่มบี างส่วนต้อง สามารถใช้งานได้คงทน เป็ น แบบอย่ า งแก่ ปรับปรุง ผู้อื่นได้ การออกแบบ ม ี ก า ร น า ม ี ก า ร น า มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ องค์ประกอบของการ องค์ประกอบของการ ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมาใช้ อ อ ก แ บ บ ม า ใ ช้ อ อ ก แ บ บ ม า ใ ช้ เหมาะสม กลมกลื น แต่ยังขาดความเหมาะสม เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลืน พอสมควร กลมกลืน เป็ น แบบอย่ า งแก่ ผู้อื่นได้ ค ว า ม คิ ด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลี ย นแบบ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม ตนเอง/กลุ่มตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก ส า ม า ร ถ เ ป็ น แบบอย่างของกลุ่ม

คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็ น ระเบี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เ ร ี ย บ ร ้ อ ย เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย

กระบวน การ มี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่ ม ี ก ารวางแผน/ไม่ มี ท างานเดี ่ ย ว/ แ บ ่ ง ห น ้ า ที่ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่ ง หน้ า ที่ คว าม กลุม่ รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เล่นสีน้ากันดีกว่า

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24 วิธีการและเทคนิคการใช้สีน้า :การสปริงพู่กัน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 7 ชั่วโมง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

****************************************************************************************************** * 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้า งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้ส ึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ ป. 1/4 (ควรรู้) สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่ายๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการสปริงพู่กัน (K) 2. วาดภาพโดยใช้เทคนิคการสปริงพู่กัน (P) 3. ชื่นชมผลงานภาพวาดโดยใช้เทคนิคการสปริงพู่กัน (A)

4. สาระสาคัญ การสปริงพู่กันเป็นการกดพู่กัน โดยใช้น้าหนักมือที่ต่างกันทาให้ภาพสวยงาม

5. สาระการเรียนรู้ การสปริงพู่กัน

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพโดยใช้เทคนิคการสปริงพู่กัน 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อธิบายวิธีการสปริงพู่กัน คาถาม

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ วาดภาพโดยใช้เทคนิคการ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน สปริงพู่กัน

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ ชื่นชมผลงานภาพวาดโดย ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม ใช้เทคนิคการสปริงพู่กัน

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการวาดภาพ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ถ้านักเรียนจะวาดภาพด้วยพู่กันจะวาดภาพใด (ตัวอย่างคาตอบ ดอกไม้ ต้นไม้) ขั้นสอน 2. ครูสาธิตการวาดภาพโดยการสปริงพู่กันให้นักเรียนดู 3. ให้ น ั ก เรี ย นเตรี ย มอุ ป กรณ์ ใ นการสปริ ง พู ่ ก ั น ได้ แ ก่ สี น ้ า พู ่ ก ั น จานสี ถ้ ว ยพลาสติ ก และกระดาษวาดเขียน 4. ให้นักเรียนใช้วิธีการสปริงพู่กันเป็นรูปต่างๆ ตามความชอบ 5. หลังจากที่ทาผลงานเสร็จแล้ว ให้นาผลงานมานาเสนอและอธิบายว่ามีวิธีการวาดอย่างไร 6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงผลงาน ขั้นสรุป 7. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การสปริงพู่กันเป็นการกดพู่กัน โดยใช้น้าหนักมือที่ต่างกัน ท าให้ ภาพสวยงาม

11. สื่อการเรียนรู้ 1. กระดาษวาดเขียน 2. พู่กัน 3. จานสี

4. สีน้า 5. ถ้วยพลาสติก แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน









คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 ดี 12-15 ปานกลาง 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เ ท ่ ระดับคุณภาพ เ ท ่ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

า า

ก ก ั



บ บ

๓ ๒

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที ่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ประกอบ มีการน าองค์ประกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีค รบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจัดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ดุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อ ื ่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เรียบร้อย

มีวินัย

เรียบร้อย ตรงต่อเวลา กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เล่นสีน ้ากันดีกว่า ชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 7

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 25 วิธีการและเทคนิคการใช้สีน ้า :การวาดภาพอิสระด้วยสีน ้า เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ****************************************************************************************************** * 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิ จารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้ส ึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ ป. 1/4 (ควรรู้) สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่ายๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับภาพที่วาดด้วยสีน้า (K) 2. วาดภาพอิสระด้วยสีน้า (P) 3. ชื่นชมผลงานการวาดภาพอิสระด้วยสีน้า (A)

4. สาระสาคัญ

การวาดภาพอิสระตามจินตนาการเป็นการฝึกความคิดสร้างสรรค์และฝึกการใช้พู่กันให้คล่องแคล่ว

5. สาระการเรียนรู้ การวาดภาพอิสระด้วยสีน้า

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพอิสระด้วยสีน้า 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับภาพที่ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม วาดด้วยสีน้า

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ วาดภาพอิสระด้วยสีน้า (P) ภาระงาน

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ ชื่นชมผลงานการวาดภาพ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม อิสระด้วยสีน้า

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ให้แต่ละคนร่วมกันคิดว่าจะวาดรูปอะไรบ้าง ขั้นสอน 2. ครูเตรียมกระดาษปรู๊ฟให้แต่ละกลุ่ม จากนั้นให้ใช้สีน้าระบายเป็นรูปต่างๆ อย่างอิสระ 3. หลังจากที่ทาผลงานเสร็จแล้วให้แต่ละกลุ่มเล่าเรื่องราวจากภาพ 4. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงผลงาน 5. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประโยชน์ของการวาดภาพอิสระด้วยสีน ้า โดยครูใช้ คาถาม ดังนี้ - การฝึกวาดภาพอิสระด้วยสีน้ามีประโยชน์อย่างไร (ฝึกจินตนาการ ฝึกวิธีการใช้พู่กัน) ขั้นสรุป 6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การวาดภาพอิสระตามจินตนาการเป็นการฝึกความคิดสร้างสรรค์ และฝึกการใช้พู่กนั ให้คล่องแคล่ว

11. สื่อการเรียนรู้ 1. กระดาษปรู๊ฟ 2. สีน้า

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน









คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 16 -20 ดี คะแนน 12-15 ปานกลาง ต่ากว่า 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๓ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๒ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที ่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ประกอบ มีการน าองค์ประกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีครบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจัดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อ ื ่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เรียบร้อย

มีวินัย

เรียบร้อย ตรงต่อเวลา กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เล่นสีน ้ากันดีกว่า ชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 26 การระบายสีธรรมชาติ ชั่วโมง

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 7 เวลาเรียน 1

****************************************************************************************************** * 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิ ล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิ ล ปะอย่ า งอิ ส ระ ชื่ นชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด ป. 1/5 (ต้องรู้) วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง

3. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายลักษณะของภาพวาดธรรมชาติ (K) 2. วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ (P) 3. ชื่นชมผลงานการวาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ (A)

4. สาระสาคัญ

เราสามารถเก็บความประทับใจธรรมชาติรอบตัวด้วยการวาดภาพ

5. สาระการเรียนรู้ การระบายสีภาพธรรมชาติ

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อ ธ ิ บ า ย ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม ภาพวาด

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ วาดภาพระบายสี ภ าพ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน ธรรมชาติ

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ ชื่นชมผลงานการวาดภาพ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม ระบายสีภาพธรรมชาติ

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ครูเล่าเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกั บธรรมชาติ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - เมื่อนึกถึงธรรมชาติจะนึกถึงอะไรบ้าง ครูและนักเรียนร่วมกันบันทึกคาตอบเป็นแผนภาพลงบนกระดาน ดังนี้ ป่ ำไม้ ภูเขำ

นำ้ ตก ธรรมชาติ

ดอกไม้

สนำมหญ้ำ

กระรอก

ขั้นสอน 2. ครูพานักเรียนออกไปชื่นชมธรรมชาติรอบโรงเรียน 3. ให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการวาดภาพ ได้แก่ กระดาษวาดเขียน พู่กัน สีน้า จากนั้นให้วาด ภาพธรรมชาติที่ชอบและเขียนเทคนิค / วิธีการที่ใช้ในภาพวาด 4. หลังจากวาดภาพผลงานเสร็จเรียบร้อย ให้นักเรียนนาผลงานออกมาเสนอและเล่าบรรยายเกี่ยวกับ ภาพวาดพร้อมบอกวิธีการดูแลธรรมชาติ ขั้นสรุป 5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ เราสามารถเก็บความประทับใจธรรมชาติรอบตัวเป็นภาพวาด

11. สือ่ การเรียนรู้ 1. 2. 3. 4.

กระดาษวาดเขียน สีน้า พู่กัน จานสี

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ.............................

คะแนน 16 -20 ดี คะแนน 12-15 ปานกลาง ตา่ กว่า 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๓ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๒ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที ่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่า งแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ประกอบ มีการน าองค์ประกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีครบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจัดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อ ื ่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก

สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เ ร ี ย บ ร ้ อ ย เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย

กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เล่นสีน ้ากันดีกว่า ชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27 การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ ชั่วโมง

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 7 เวลาเรียน 1

****************************************************************************************************** *

1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด มฐ.ศ 1.1 ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ในการระบายด้วยสีน้า (K) 2. แสดงบทบาทสมมุติการเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ในการระบายด้วยสีน้า (P) 3. เห็นประโยชน์ของการเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ในการระบายด้วยสีน้า (A)

4. สาระสาคัญ

เมื่อใช้สีน้าเสร็จควรเก็บรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อยและระวังไม่ให้สีน้าถูกแสงแดด

5. สาระการเรียนรู้ การเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง

7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน แสดงบทบาทสมมุติการเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ในการระบายด้วยสีน้า

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อธิ บ ายวิ ธ ี ก ารเก็ บ รั ก ษา ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม วัสดุอุปกรณ์ในการระบาย ด้วยสีน้า

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ แสดงบทบาทสมมุ ต ิ ก าร ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน เก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ ใน การระบายด้วยสีน้า ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ เห็นประโยชน์ของการเก็บ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม รักษาวัส ดุอุ ปกรณ์ในการ ระบายด้วยสีน้า

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการเก็บรักษาสีน้า โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - นักเรียนเคยใช้สีน้าหรือไม่ (เคย / ไม่เคย) - อุปกรณ์ที่นักเรียนใช้ในการระบายสีน้ามีอะไรบ้าง (สีน้า จานสี พู่กัน) ขั้นสอน 2. ให้ตัวแทนนักเรียน 3 คน เล่าถึงวิธีการเก็บรักษาสีน้าและอุปกรณ์ในการเก็บสีน้า 3. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ์ในการระบายสีน้า โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ถ้าปิดฝาหลอดสีน้าไม่สนิทจะเกิดผลอย่างไร (สีจะแห้ง) - ถ้าเปิดฝาหลอดทิ้งไว้ถูกแสงแดดจะเกิดผลอย่างไร (สีจะแห้ง) - ถ้าบีบสีน้าออกมาใช้มากจะเกิดผลอย่างไร 4. ครูสาธิตวิธีการบีบสีน้าที่ถูกต้องให้นักเรียนดู โดยบีบสีน้าจากก้นหลอด ไม่ควรบีบกลางหลอด ถ้า บีบสีออกมามากจะทาให้สิ้นเปลือง จากนั้นให้ออกมาสาธิตวิธีการบีบสีและปิดฝาหลอดสีน้าให้สนิท

5. ให้นักเรียนร่วมกันเสนอวิธีการใช้สีน ้าอย่างประหยัด จากนั้นครูบันทึกค าตอบของนักเรียนเป็น แผนภาพ ดังนี้ สีท่เี หลือในจำนนำ กลับมำใช้ใหม่ได้อีก

การใช้สีน้า อย่างประหยัด

ปิ ดฝำหลอดให้แน่น

บีบสีให้พอดีอย่ำให้มำกเกินไป

6. ให้นักเรียนร่วมกันบอกประโยชน์ของการใช้สีน้าอย่างประหยัด ขั้นสรุป 7. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การเก็บรักษาสีน้าให้เรียบร้อยไม่ให้สีน้าถูกแสงแดดจะช่วยให้ใช้สี น้าได้นานและประหยัดค่าใช้จ่าย

11. สื่อการเรียนรู้ อุปกรณ์สีน้า

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สีโปสเตอร์ไม่ยากอย่างที่คิด ชั่วโมง

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 11

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 28 สีโปสเตอร์และการผสมสี ชั่วโมง

เวลาเรียน 1

****************************************************************************************************** *

1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิ ดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด มฐ.ศ 1.1 ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายลักษณะของสีโปสเตอร์ (K) 2. ผสมสีโปสเตอร์โดยใช้สีดาและสีขาวผสมกับสีอื่น (P) 3. เห็นประโยชน์ของการใช้สีโปสเตอร์ (A)

4. สาระสาคัญ

สีโปสเตอร์เป็นสีทึบแสง สามารถนาแต่ละสีมาผสมกันเป็นสีใหม่แบบสีน้าได้

5. สาระการเรียนรู้ สีโปสเตอร์

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน ฝึกผสมสีโปสเตอร์โดยใช้สีดาและสีขาวผสมกับสีอื่น

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อธิ บ ายลั ก ษณะ ขอ งสี ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม โปสเตอร์

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ ผสมสีโปสเตอร์โดยใช้สีดา ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน และสีขาวผสมกับสีอื่น ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ เห็นประโยชน์ของการใช้สี ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม โปสเตอร์

10. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการใช้สี โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - นักเรียนเคยวาดภาพระบายสีหรือไม่ (เคย / ไม่เคย) - นักเรียนเคยใช้สีใดบ้าง (สีน้า / สีไม้ / สีเทียน) ขั้นสอน 2. ให้ครูนาภาพที่ระบายด้วยสีโปสเตอร์และภาพที่ระบายด้วยสีน้า จากนั้นให้นักเรียนเปรียบเทียบว่า ลักษณะของสีทั้งสองภาพต่างกันอย่างไร 3. ให้นักเรียนดูสีโปสเตอร์จริงและให้สังเกตลักษณะของสีโปสเตอร์ จากนั้นให้ร่วมกันสรุปลักษณะของ สีโปสเตอร์ลงในแผนภาพบนกระดาน ดังนี้

ใช้พ่กู นั บรรจุในขวด

สีโปสเตอร์

ผสมกับสีอื่นได้

ทึบแสง

4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 3 กลุ่ม ครูเตรียมอุปกรณ์ให้แต่ละกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 สีโปสเตอร์สีแดง , ดา , ขาว , พู่กัน , จานสี , กระดาษวาดเขียน กลุ่มที่ 2 สีโปสเตอร์สีเหลือง , ดา , ขาว , พู่กัน , จานสี , กระดาษวาดเขียน กลุ่มที่ 3 สีโปสเตอร์สีน้าเงิน , ดา , ขาว , พู่กัน , จานสี , กระดาษวาดเขียน จากนั้นให้ทดลองผสมสีและระบายสี ดังนี้ (1) ระบายสีที่ไม่ใช่สีดาและขาวเป็นรูปเรขาคณิต เช่น วงกลมหรือสี่เหลี่ยม (2) ระบายสีที่กาหนดผสมสีดาเป็นรูปเรขาคณิต เช่น วงกลมหรือสี่เหลี่ยม (3) ระบายสีที่กาหนดผสมสีขาวเป็นรูปเรขาคณิต เช่น วงกลมหรือสี่เหลี่ยม โดยให้แต่ละคนทาลงในกระดาษวาดเขียนของตนเองเป็นรูปเรขาคณิต 5. หลังจากแต่ละกลุ่มทางานเสร็จแล้ว นาเสนอผลงานว่ามีสีอะไรบ้างและสีที่ผสมเหมือนกับสีของสิ่งใด ในธรรมชาติ 6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คาถาม ดังนี้ - สีที่ผสมกับสีดาจะเป็นอย่างไร (สีเข้มขึ้น ดูหนักแน่น) - สีที่ผสมกับสีขาวจะเป็นอย่างไร (สีจางลง ดูอ่อนนุ่มนวล) ขั้นสรุป 7. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ สีโปสเตอร์เป็นสีทึบแสง สามารถนาแต่ละสีมาผสมกันเป็นสีใหม่ แบบสีน้าได้

11. สื่อการเรียนรู้

1. ภาพที่ระบายด้วยสีโปสเตอร์และภาพที่ระบายด้วยสีน้า 2. สีโปสเตอร์ 3. จานสี 4. พู่กัน 5. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที ่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ประกอบ มีการน าองค์ประกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีครบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจัดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อ ื ่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก

สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ตั้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เ ร ี ย บ ร ้ อ ย เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย

กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สีโปสเตอร์ไม่ยากอย่างที่คิด ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 29 วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ ชั่วโมง

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 11 เวลาเรียน 1

****************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด ป.1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะวัสดุ อุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ (K) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ได้อย่างถูกต้อง (P) 3. เห็นประโยชน์ของการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ (A)

4. สาระสาคัญ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้กับสีโปสเตอร์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีวิธีการใช้แ ตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรใช้อย่างถูก วิธี

5. สาระการเรียนรู้ วัสดุ อุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8.. ชิ้นงาน/ภาระงาน ใช้วัสดุอุปกรณ์การใช้สีโปสเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ อ ธ ิ บ า ย ล ั ก ษ ณ ะ ว ั ส ดุ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม อ ุ ป ก ร ณ ์ ใ น ก า ร ใ ช ้ สี โปสเตอร์

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สี ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน โปสเตอร์ได้อย่างถูกต้อง

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ เห็นประโยชน์ของการใช้ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึน้ ไป คาถาม วั ส ดุ อ ุ ป กรณ์ ใ นการใช้ สี โปสเตอร์

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ระบายสี โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - นักเรียนเคยวาดภาพระบายสีหรือไม่ (เคย / ไม่เคย) - การวาดภาพระบายสีของนักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง (ดินสอ พู่กัน สี ยางลบ จานสี) ขั้นสอน 2. ครูน าวัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์มาให้นักเรียนสังเกต ดังนี้ จานสี พู่กันแบน พู่กันกลม กระดาษวาดเขียน ดินสอ ยางลบ สีโปสเตอร์ แล้วให้นักเรียนอธิบายลักษณะของอุปกรณ์ 3. ครูติดบัตรคาแล้วให้นักเรียนฝึกอ่านชื่อวัสดุ อุปกรณ์ คาดังนี้ จานสี พู่กันแบน กระดาษวาดภาพ ดินสอ ยางลบ สีโปสเตอร์ พู่กันกลม 4. ให้นักเรียนนาบัตรคามาวางไว้ให้สัมพันธ์กับวัสดุ อุปกรณ์แล้วครูตรวจสอบความถูกต้อง 5. ให้นักเรียนฝึกใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ โดยฝึกจับพู่ กัน จับดินสอสาหรับร่างภาพ ฝึก การใช้พู่กันจุ่มสีโปสเตอร์ 6. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์ของวัสดุ อุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ได้ถูกต้องเกิดผลดีอย่างไร (ผลงานสวยงาม , วัสดุ อุปกรณ์สามารถใช้ได้นาน)

ขั้นสรุป 7. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้กับสีโปสเตอร์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมี วิธีการใช้แตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรใช้อย่างถูกวิธี 11. สื่อการเรียนรู้ 1. วัสดุอุปกรณ์ในการใช้สีโปสเตอร์ เช่น จานสี พู่กันแบน พู่กัน กลม กระดาษวาดเขียน ดินสอ ยางลบ สีโปสเตอร์ 2. บัตรคา

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 ดี 12-15 ปานกลาง 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เ ท ่ ระดับคุณภาพ เ ท ่ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

า า

ก ก

ั ั

บ บ

๓ ๒

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที ่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ ป ระกอบ มีการน าองค์ประกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีครบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจัดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น

ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อ ื ่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ตั้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เ ร ี ย บ ร ้ อ ย เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย

กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สีโปสเตอร์ไม่ยากอย่างที่คิด ชั่วโมง

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 11

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 30 การระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบ ชั่วโมง

เวลาเรียน 1

****************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจ ารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด มฐ.ศ 1.1 ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ มฐ.ศ 1.1 ป. 1/4 (ควรรู้) สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่ายๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บรรยายภาพวาดที่ระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบ (K) 2. วาดภาพระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบ (P) 3. ชื่นชมผลงานการวาดภาพระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบ (A)

4. สาระสาคัญ การระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบเป็นการใช้พู่กันระบายน้าสะอาดบนกระดาษแล้วจึงระบายสี

5. สาระการเรียนรู้ การระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบ

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบ

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ บรรยายภาพวาดที่ระบาย ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึน้ ไป คาถาม สีโปสเตอร์แบบเรียบ

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ วาดภาพระบายสีโปสเตอร์ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน แบบเรียบ

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ ชื่นชมผลงานการวาดภาพ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม ระบายสี โ ปสเตอร์ แ บบ เรียบ

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ครูและนักเรียนเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับภาพที่เคยวาดว่าวาดภาพอะไร และใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง ขั้นสอน 2. ครูอธิบายและสาธิตการระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบ โดยครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสาธิต ดังนี้ 2.1 ครูร่างภาพง่ายๆ บนกระดาษวาดเขียน 2.2 ผสมสีที่ใช้ในจานสี 2.3 ใช้พู่กันระบายน้าสะอาดบนกระดาษพอหมาด 2.4 ระบายสีส่วนใหญ่ของภาพ 2.5 ระบายสีในส่วนที่เป็นรายละเอียดอื่นๆ 3. ให้นักเรียนออกไปสารวจธรรมชาติรอบโรงเรียน แล้ววาดภาพธรรมชาติที่ชอบและระบายสีโปสเตอร์ แบบเรียบอย่างอิสระ โดยมีครูคอยตรวจสอบให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด 4. ให้นักเรียนนาเสนอผลงาน โดยบรรยายภาพวาดแล้วให้เพื่อนได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น ขั้นสรุป 5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การระบายสีโปสเตอร์แบบเรียบเป็นการใช้พู่กันระบายน้าสะอาด บนกระดาษแล้วจึงระบายสี

11. สื่อการเรียนรู้

1. 2. 3. 4.

กระดาษวาดเขียน พูก่ ัน สีโปสเตอร์ จานสี

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน









คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 16 -20 ดี คะแนน 12-15 ปานกลาง ต่ากว่า 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๓ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๒ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที ่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ประกอบ มีการน าองค์ประกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีครบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจั ดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อ ื ่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เรียบร้อย

มีวินัย

เรียบร้อย ตรงต่อเวลา กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

รหัสวิชา ศ 11101 วิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สีโปสเตอร์ไม่ยากอย่างที่คิด ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 31 การแต้มสีเป็นภาพ ชั่วโมง

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน 11 เวลาเรียน 1

****************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ.ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจิน ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุ ณ ค่ า งานทั ศ นศิล ป์ ถ่ า ยทอดความรู ้ส ึก ความคิ ด ต่ อ งานศิล ปะอย่ างอิส ระ ชื ่ น ชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2. ตัวชี้วัด ป. 1/3 (ต้องรู้) มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ ป. 1/4 (ควรรู้) สร้างงานทัศนศิลป์โดยการทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่ายๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บรรยายภาพวาดที่มีการแต้มสีเป็นภาพ (K) 2. วาดภาพระบายสีโดยใช้วิธีการแต้มสีเป็นภาพ (P) 3. ชื่นชมผลงานการวาดภาพระบายสีโดยใช้วิธีการแต้มสีเป็นภาพ (A)

4. สาระสาคัญ การแต้มสีเป็นภาพเป็นการนาพู่กันจุ่มสีสดๆ มาป้ายทับกันบนกระดาษทาให้เกิดเป็นภาพที่สดใส

5. สาระการเรียนรู้ การแต้มสีเป็นภาพ

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพระบายสีโดยใช้วิธีการแต้มสีเป็นภาพ

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เ ค ร ื ่ อ ง ม ื อ ก า ร วั ด วิธีการวัดผล ประเมินผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ บรรยายภาพวาดที่ ม ี ก าร ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม แต้มสีเป็นภาพ

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมิ น ชิ ้ น งาน/ วาดภาพระบายสี โ ดยใช้ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป (P) ภาระงาน วิธีการแต้มสีเป็นภาพ ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม/ ชื่นชมผลงานการวาดภาพ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป คาถาม ระบายสีโดยใช้วิธีการแต้ม สีเป็นภาพ

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความรักว่านึกถึงความรักจะนึกถึงอะไรบ้าง ครู และนักเรียน ร่วมกันบันทึกคาตอบเป็นแผนภาพบนกระดาน หัวใจ

ของขวัญ

ความรัก

ขนม

ดอกไม้

ขั้นสอน 2. ครูอธิบายและสาธิตการแต้มสีโปสเตอร์เป็นภาพ โดยครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสาธิต ดังนี้ 2.1 ครูร่างภาพเป็นรูปหัวใจ 2.2 ผสมสีที่ใช้ในจานสี 2.3 ใช้พู่กันจุ่มสีสดๆ ที่ผสมอยู่ในจานสีมาป้ายทับกันบนกระดาษวาดเขียน 3. ให้นักเรียนจินตนาการถึงสิ่งที่แสดงถึงความรัก

4. ให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์และผสมสีในจานสี 5. ให้นักเรียนแต้มสีเป็นภาพอย่างอิสระ โดยมีครูคอยตรวจสอบให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด 6. เมื่อนักเรียนแต้มสีเป็นภาพเสร็จแล้ว ให้นักเรียนนาเสนอผลงานโดยพูดบรรยายประกอบภาพ แล้ว ให้เพื่อนร่วมแสดงความคิดเห็นประเมินผลงาน ขั้นสรุป 7. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การนาพู่กันจุ่มสี สดๆ มาแต้มสีเป็นภาพบนกระดาษทาให้เกิดเป็น ภาพที่สดใส 11. สื่อการเรียนรู้ 1. 2. 3. 4.

กระดาษวาดเขียน สีโปสเตอร์ พู่กัน จานสี

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ

ระดับคะแนน ๔







รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 ดี 12-15 ปานกลาง 12 ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ เ ท ่ ระดับคุณภาพ เ ท ่ ระดับคุณภาพ เท่ากับ ๑

า า

ก ก ั



บ บ

ลงชื่อ...............................................ผู้ ประเมิน (.................................................)

๓ ๒

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ร า ย ก า ร เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน 4 3

2

1

ค ุ ณ ภ า พ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็ จ สมบู ร ณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่ ผลงาน สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตามภาระ สื ่ อ ความหมายตาม ภาระงานที ่ ก าหนด ภาระงานที่กาหนด งานที่กาหนดไม่ชัดเจน ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น ได้ ก า ร จั ด มีการน าองค์ประกอบ มีการน าองค์ป ระกอบ มี ก ารน าองค์ ป ระกอบ มีการนาองค์ประกอบ องค์ ป ระกอบ ของการออกแบบมาใช้ ของการออกแบบ มา ของการออกแบบ มาใช้ ของการออกแบบมา ศิลป์ เหมาะสม กลมกลื น ใช้เหมาะสม กลมกลืน เหมาะสม กลมกลื น ใช้ แ ต่ ย ั ง ขาดความ หลักการจัดภาพมีครบ หลักการจัดภาพขาดไป หลักการจัดภาพขาดไป เหมาะสม กลมกลืน ท ั ้ ง 3 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 2 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1 ข ้ อ ไ ด ้ แ ก่ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 1. เ อ ก ภ า พ 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 2. ค ว า ม ส ม ด ุ ล 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น 3. จุดเด่น ค ว า ม คิ ด ผ ล ง า น แ ป ล ก ใ ห ม่ ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลี ย นแบบ ผลงานลอกเลียนแบบ สร้างสรรค์ เกิ ด จากความคิ ด ของ เกิ ด จากความคิ ด ของ จากความคิด ผู้อื่น/กลุ่ม จากความคิ ด ผู ้ อื่ น / ตนเอง/กลุ ่ ม ตนเอง ตนเอง/กลุ่มตนเอง อื่น บางส่วน กลุ่มอื่น เป็นส่วนมาก สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม คุณลักษณะ

ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ ม ี ว ิ น ั ย ต ั ้ ง ใ จ มีวินัย ตั้งใจ คว ามเป็ น ระเบ ี ย บ ความเป็ น ระเบี ย บ เรียบร้อย

มีวินัย

เรียบร้อย ตรงต่อเวลา กระบวนการ ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น / มี ก ารวางแผน แต่ ก าร ไม่มีการวางแผน/ไม่มี ท างานเดี ่ ย ว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ แบ่ ง หน้ า ที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบ การแบ่งหน้ าที่ ค วาม กลุม่ ปฏิบัติได้ตามแผน ขาดความชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการสอน ป.2

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 2 ศิลปินรุ่นจิ๋ว แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

วิชาทัศนศิลป์

21

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

5

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง

การวาดภาพเกี่ยวกับครอบครัว : การวาดลักษณะประจาตัวเวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/6 (ต้องรู้) วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัวของตนเองและเพื่อนบ้าน ป. 2/7 (ควรรู้) เลือกงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะประจาตัวของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว (K) 2. วาดภาพลักษณะประจาตัวของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว (P) 3. ชื่นชมผลงาน วาดภาพลักษณะประจาตัวของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว (A)

4.

สาระสาคัญ

การวาดลักษณะประจาตัว คือ การวาดที่แสดงให้เห็นสิ่งที่เราชอบ และท่าทางที่เป็นตัวเรา การวาดภาพแสดงถึงอาชีพ ของคนในครอบครัว สามารถแสดงได้ด้วยการวาดเครื่องแต่งกายต่างๆ

5.

สาระการเรียนรู้ การวาดภาพเกี่ยวกับครอบครัว: การวาดลักษณะประจาตัว

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพลักษณะประจาตัวของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกลักษณะประจาตัวของ สมาชิกแต่ละคนในครอบครัว

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

วาดภาพลักษณะประจาตัว ของสมาชิกแต่ละคนใน ครอบครัว

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานวาดภาพลักษณะ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ประจาตัวของสมาชิกแต่ละคน ในครอบครัว

10.

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1.ครูให้ตัวแทนนักเรียน 2 – 3 คน ออกมาเล่าถึงลักษณะประจาตัวของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว เช่น กิจกรรมหรือ อาหารที่แต่ละคนในครอบครัวชอบ อาชีพของแต่ละคนในครอบครัว ขั้นสอน 2. ครูร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะประจาตัวของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว ออกมาเป็น

ภาพวาด โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ถ้าให้นักเรียนวาดภาพเพื่อถ่ายทอดลักษณะประจาตัวของแต่ละคนในครอบครัว นักเรียนจะวาดลักษณะ อะไรบ้าง (คาตอบ ลักษณะท่าทาง กิจกรรม กีฬาและอาหารที่ชอบ เสื้อผ้าที่ชอบสวมใส่ อาชีพของแต่ละคน) - ถ้าให้นักเรียนวาดภาพลักษณะประจาตัวของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัวของตนเอง นักเรียนจะวาดได้ หรือไม่ (คาตอบ ได้) 3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การวาดลักษณะประจาตัว เราต้องวาดโดยแสดงให้เห็นว่าเราชอบอะไร เช่น ชอบเล่น

ฟุตบอล ชอบรับประทานไอศกรีม ชอบร้องเพลง แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่เราชอบและท่าทางที่เป็นเรา ส่วนการวาดภาพสมาชิกใน ครอบครัว อาจวาดสิ่งที่ชอบ ท่าทางต่างๆ หรืออาชีพของแต่ละคนก็ได้ 4. ครูวาดภาพลักษณะประจาตัวของตนเองลงบนกระดานให้นักเรียนดู 1 ภาพ จากนั้นให้นักเรียนทายว่าลักษณะ

ประจาตัวของครูในภาพคืออะไร 5. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพ เพื่อเตรียมวาดภาพระบายสีลักษณะประจาตัวของสมาชิกใน

ครอบครัว 6. นักเรียนนึกภาพลักษณะท่าทาง สิ่งที่แต่ละคนชอบ หรืออาชีพของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว จากนั้นลงมือวาดภาพ

ระบายสีลักษณะประจาตัวของสมาชิกในครอบครัวของตนเองลงในกระดาษวาดเขียนครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 7. นักเรียนนาภาพของตนเองออกมานาเสนอหน้าชั้น โดยให้เพื่อนๆทายว่า ภาพแต่ละภาพแสดงลักษณะในแต่ละภาพ

คืออะไร และเป็นลักษณะท่าทางของใคร ขั้นสรุป 8.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ เราสามารถวาดลักษณะประจาตัว โดยการวาดกิจกรรมหรือสิ่งที่เราชื่นชอบ

และท่าทางต่างๆ ที่เป็นตัวเรา ส่วนการวาดภาพสมาชิกในครอบครัว อาจวาดท่าทางต่างๆ หรืออาชีพของแต่ละคนก็ได้

11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษวาดเขียน 2. ดินสอ 3. สีไม้หรือสีเทียน

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑



เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินยั

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 2 ศิลปินรุ่นจิ๋ว แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

วิชาทัศนศิลป์

22

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

5

การวาดส่วนประกอบของภาพ : สิ่งต่างๆ รอบตัว

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/6 (ต้องรู้) วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัวของตนเองและเพื่อนบ้าน ป. 2/7 (ควรรู้) เลือกงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกลักษณะของสิ่งต่างๆ รอบตัว (K) 2. วาดภาพสิ่งต่างๆ รอบตัว (P) 3. ชื่นชมผลงาน ภาพวาดสิ่งต่างๆ รอบตัว (A)

4.

สาระสาคัญ

ในชีวิตความเป็นอยู่ เราไม่ได้มีกันเพียงแค่คนเท่านั้น ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในธรรมชาติ และสิ่งก่อสร้างอยูร่ อบๆ ตัว เราจึง ต้องหัดวาดสิ่งเหล่านี้ เพื่อนามาประกอบภาพให้สมบูรณ์

5.

สาระการเรียนรู้ การวาดส่วนประกอบของภาพ : สิง่ ต่างๆ รอบตัว

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพสิ่งต่างๆ รอบตัว

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกลักษณะของสิ่งต่างๆ รอบตัว

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

วาดภาพสิ่งต่างๆ รอบตัว

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

10.

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงาน ภาพวาดสิ่งต่างๆ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป รอบตัว

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. ครูให้ตัวแทนนักเรียน ออกมาบอกถึงสิ่งต่างๆ ที่เห็นอยู่รอบๆ ตัว ภายในโรงเรียน ทั้งสิ่งที่มีชีวิต สร้างต่างๆ ครูเขียนสิ่งที่นักเรียนบอกเล่าเป็นแผนภาพความคิดลงบนกระดาน

และสิ่งปลูก

ขั้นสอน ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ในชีวิตความเป็นอยู่ เราไม่ได้มีกันเพียงแค่คนเท่านั้น ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในธรรมชาติ และ สิ่งก่อสร้างอยู่รอบๆ ตัว เราจึงต้องหัดวาดสิ่งเหล่านี้ เพื่อนามาประกอบภาพให้สมบูรณ์ 2.

3. ครูให้ตัวแทนนักเรียนออกมาบอกเล่าถึงสิ่งต่างๆ ที่อยูภ ่ ายในบริเวณบ้านและภายในบ้านของตนเอง ทั้งสิ่งที่มีชีวิต และ

สิ่งปลูกสร้างต่างๆ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ถ้าให้นักเรียนวาดภาพสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตัวของนักเรียน นักเรียนจะวาดได้หรือไม่ (คาตอบ ได้) 4. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพ เพื่อเตรียมวาดภาพระบายสีสิ่งต่างๆรอบตัว 5. นักเรียนสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัว หรืออาจจะนึกภาพสิ่งต่างๆ รอบบ้านหรือภายในบ้านของตนเอง จากนั้นลงมือวาด

ภาพระบายสีสิ่งต่างๆ รอบตัวที่ตนเองสนใจลงในกระดาษวาดเขียน ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 6. นักเรียนนาภาพของตนเองมาวิจารณ์และชื่นชมผลงานร่วมกับเพือ่ น

ขั้นสรุป 7.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ในชีวิตความเป็นอยู่ เราไม่ได้มีกันเพียงแค่คนเท่านั้น ยังมีสงิ่ มีชีวิตอื่นๆ ใน

ธรรมชาติและสิ่งก่อสร้างอยูร่ อบๆตัวเราจึงต้องหัดวาดสิ่งเหล่านี้ เพื่อนามาประกอบภาพให้สมบูรณ์

11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษวาดเขียน 2. ดินสอ 3. สีไม้หรือสีเทียน

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑



เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

มีวินัย

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 2 ศิลปินรุ่นจิ๋ว แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

วิชาทัศนศิลป์

23

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

5

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง

การวาดส่วนประกอบของภาพ : กิจกรรมภายในบ้าน เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/6 (ต้องรู้) วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัวของตนเองและเพื่อนบ้าน ป. 2/7 (ควรรู้) เลือกงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันในบ้าน (K) 2. วาดภาพกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันในบ้าน (P)

3. ชื่นชมผลงานภาพวาดกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันในบ้าน (A)

4.

สาระสาคัญ ในการวาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของครอบครัวนั้น บางครั้งเราอาจวาดกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกับครอบครัว

5.

สาระการเรียนรู้ การวาดส่วนประกอบของภาพ : กิจกรรมในบ้าน

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันในบ้าน

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

อธิบายกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันในบ้าน

ที่ทา ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

วาดภาพกิจกรรมต่างๆ ที่ทา ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ร่วมกันในบ้าน

ด้านพฤติกรรม(A)

10.

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานภาพวาดกิจกรรม ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ต่างๆ ที่ทาร่วมกันในบ้าน

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. ครูร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมภายในบ้านที่ร่วมกันทากับครอบครัว โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ครอบครัวของนักเรียนเคยทากิจกรรมอะไรร่วมกันบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ การรับประทานอาหาร ร่วมกัน การดูโทรทัศน์ร่วมกัน การปลูกต้นไม้ร่วมกัน) ครูและนักเรียนร่วมกันเขียนแผนภาพความคิดบนกระดาน ขั้นสอน 2. นักเรียนแบ่งกลุม ่ กลุ่มละ 4 – 5 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับกิจกรรมภายในบ้านต่างๆ ที่ร่วมกันทา

กับครอบครัว เช่น การรับประทานอาหารร่วมกัน การดูโทรทัศน์ร่วมกัน การทาอาหารร่วมกัน การปลูกต้นไม้ร่วมกัน เป็นต้น จากนั้นแต่ละกลุ่ม เลือกกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกับครอบครัวภายในบ้านเพื่อแสดงบทบาทสมมุติกิจกรรมต่างๆเหล่านั้น กลุ่มละ 1 กิจกรรม โดยแต่ละกลุ่มห้ามเลือกกิจกรรมซ้ากัน 3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการถ่ายทอดเรื่องราวกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันภายในบ้าน โดยครูใช้

คาถาม ดังนี้ - ถ้าให้นักเรียนวาดภาพกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกับครอบครัวภายในบ้าน นักเรียนจะวาดได้หรือไม่ (ตัวอย่าง คาตอบ ได้) 4. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ในการวาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของครอบครัวนั้น บางครั้งเราอาจวาดภาพครอบครัว

ของเรากาลังนั่งพักผ่อนในบ้าน หรือกาลังนั่งรับประทานอาหารอย่างมีความสุข โดยเราต้องวาดภาพสิง่ ต่างๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราว ออกมาให้เห็นว่ากาลังรับประทานอาหาร โดยมีภาพโต๊ะอาหาร และภาพอาหารต่างๆ เป็นต้น 5. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพ เพื่อเตรียมวาดภาพระบายสีกิจกรรมในบ้าน 6. นักเรียนนึกภาพกิจกรรมที่ทาร่วมกับครอบครัวภายในบ้านที่ตนเองชื่นชอบ คนละ 1 กิจกรรม จากนัน ้ ลงมือวาดภาพ

ระบายสีกิจกรรมนั้นๆ ลงในกระดาษวาดเขียน ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 7. นักเรียนนาภาพของตนเองมาวิจารณ์และชื่นชมผลงานร่วมกับเพือ่ น

ขั้นสรุป

8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ในการวาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของครอบครัวนั้น บางครั้งเราอาจวาด

กิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกับครอบครัว

11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษวาดเขียน 2. ดินสอ 3. สีไม้

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔





คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ.............................



คะแนน คะแนน ต่ากว่า

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

16 -20 12-15 12

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ

วิชาทัศนศิลป์

12101

หน่วยการเรียนรูท้ ี่

2

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

ศิลปินรุ่นจิ๋ว 24

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลาเรียน

การวาดส่วนประกอบของภาพ : กิจกรรมภายนอกบ้าน เวลาเรียน

2

ชั่วโมง

5 1

ชั่วโมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/6 (ต้องรู้) วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัวของตนเองและเพื่อนบ้าน ป. 2/7 (ควรรู้) เลือกงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันนอกบ้าน (K) 2. วาดภาพกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันนอกบ้าน (P) 3. ชื่นชมผลงานภาพวาดกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันนอกบ้าน (A)

4.

สาระสาคัญ ในการวาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวของครอบครัวนั้น บางครั้งเราอาจวาดกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกับครอบครัว

5.

สาระการเรียนรู้ การวาดส่วนประกอบของภาพ : กิจกรรมนอกบ้าน

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกันนอกบ้าน

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

อธิบายกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันนอกบ้าน

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

วาดภาพอิสระด้วยสีน้า

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานภาพวาดกิจกรรม ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ต่างๆ ที่ทาร่วมกันนอกบ้าน

10.

ที่ทา ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. ครูเล่าถึงกิจกรรมนอกบ้านที่ทาร่วมกับครอบครัว 1 กิจกรรม เช่น การทาบุญตักบาตรหรือการไปเที่ยวในที่ต่างๆ ร่วมกัน ให้นักเรียนฟัง จากนั้นร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมนอกบ้านที่นักเรียนร่วมกันทากับครอบครัว โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ครอบครัวของนักเรียนเคยทากิจกรรมนอกบ้านร่วมกันหรือไม่ คาตอบ เคย / ไม่เคย) - กิจกรรมนอกบ้านที่นักเรียนเคยไปทาร่วมกับครอบครัว มีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ร่วมกัน ไปเที่ยวร่วมกัน ไปงานต่างๆ ร่วมกัน)

(ตัวอย่าง การไปทาบุญ

ขั้นสอน 2. นักเรียนแบ่งกลุม ่ กลุ่มละ 4 – 5 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับกิจกรรมนอกบ้านต่างๆ ที่ร่วมกันทา

กับครอบครัว เช่น การไปทาบุญร่วมกัน ไปเที่ยวร่วมกัน ไปงานต่างๆ ร่วมกัน เป็นต้น จากนั้นแต่ละกลุ่ม เลือกกิจกรรมต่างๆ ที่ ทาร่วมกับครอบครัวนอกบ้าน เพื่อแสดงบทบาทสมมุติกิจกรรมต่างๆเหล่านั้น กลุ่มละ 1 กิจกรรม โดยแต่ละกลุ่มห้ามเลือก กิจกรรมซ้ากัน 3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวาดภาพกิจกรรมนอกบ้านที่ทาร่วมกับครอบครัว

คาถาม ดังนี้

โดยครูใช้

- ถ้าให้นักเรียนวาดภาพกิจกรรมต่างๆ ที่ทาร่วมกับครอบครัวนอกบ้าน นักเรียนจะวาดได้หรือไม่ (ตัวอย่าง คาตอบ ได้) 4. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ในการวาดภาพที่แสดงถึงกิจกรรมต่างๆ ซึ่งคนในครอบครัวทาร่วมกันในสถานที่ต่างๆ

เวลาวาดจะต้องวาดฉากหลังให้ดูแล้วเข้าใจว่าอยู่ที่ไหน ฉากหลังของภาพจะช่วยแสดงถึงสถานที่ตา่ งๆ 5. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการวาดภาพ เพื่อเตรียมวาดภาพระบายสีกิจกรรมนอกบ้าน 6. นักเรียนนึกภาพกิจกรรมที่ทาร่วมกับครอบครัวภายในบ้านที่ตนเองชื่นชอบ คนละ 1 กิจกรรม จากนัน ้ ลงมือวาดภาพ

ระบายสี กิจกรรมนั้นๆ ลงในกระดาษวาดเขียน ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 7. นักเรียนนาภาพของตนเองมาวิจารณ์และชื่นชมผลงานร่วมกับเพือ่ น

ขั้นสรุป 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ในการวาดภาพที่แสดงถึงกิจกรรมต่างๆ ซึ่งคนในครอบครัวทาร่วมกันใน

สถานที่ต่างๆ เวลาวาดจะต้องวาดฉากหลังให้ดูแล้วเข้าใจว่าอยู่ที่ไหน ฉากหลังของภาพจะช่วยแสดงถึงสถานที่ต่างๆ

11 . สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษวาดเขียน 2. ดินสอ 3. สีไม้ แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

2. ความสมดุล

2. ความสมดุล

2. ความสมดุล

3. จุดเด่น

3. จุดเด่น

3. จุดเด่น

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

มีวินัย

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 2 ศิลปินรุ่นจิ๋ว แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

วิชาทัศนศิลป์

25

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

การวาดภาพเกี่ยวกับเพื่อนบ้าน

5

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชัว่ โมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/6 (ต้องรู้) วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัวของตนเองและเพื่อนบ้าน ป. 2/7 (ควรรู้) เลือกงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ 1. บอกข้อดีของการมีเพื่อนบ้าน (K) 2. วาดภาพเกี่ยวกับเพื่อนบ้าน (P) 3. ชื่นชมผลงานภาพวาดเกีย่ วกับเพื่อนบ้าน (A)

4.

สาระสาคัญ

เราไม่ได้อยู่ลาพังแต่เพียงครอบครัวของเรา เรามีเพื่อนบ้าน เพื่อนบ้าน คือคนที่อยู่บ้านติดกับเรา หรืออยู่ใกล้กับบ้านเรา หรืออยู่ในชุมชนเดียวกับเรา ซึ่งเราได้รจู้ ัก คบหา ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

5.

สาระการเรียนรู้ การวาดภาพเกี่ยวกับเพื่อนบ้าน

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน วาดภาพเกี่ยวกับเพื่อนบ้าน

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกข้อดีของการมีเพื่อนบ้าน ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

วาดภาพเกี่ยวกับเพื่อนบ้าน

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

10.

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ชื่นชมผลงานภาพวาดเกี่ยวกับ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป เพื่อนบ้าน

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพื่อนบ้าน โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - นักเรียนมีเพื่อนบ้านหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ มี) - เพื่อนบ้านของนักเรียนมีใครบ้าง (นักเรียนตอบตามความเป็นจริง) - เพื่อนบ้านของนักเรียนมีนิสยั ใจคอเป็นอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเป็นจริง) - เพื่อนบ้านที่สนิทกับครอบครัวของนักเรียนคือใคร (นักเรียนตอบตามความเป็นจริง) - การมีเพื่อนบ้านมีข้อดีอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ เป็นเพื่อนคุยแก้เหงา คอยช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน คอยเป็นหูเป็นตาเมื่อเราไม่อยู่บ้าน)

เมื่อมีปัญหา

2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า เราไม่ได้อยูล่ าพังแต่เพียงครอบครัวของเรา เรามีเพื่อนบ้าน เพื่อนบ้าน คือคนที่อยู่บ้านติด

กับเรา หรืออยู่ใกล้กับบ้านเรา หรืออยู่ในชุมชนเดียวกับเรา ซึ่งเราได้รู้จัก คบหา ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน

ขั้นสอน(40 นาที) 3. ให้ตัวแทนนักเรียนออกมาเล่าเรือ่ งราวความประทับใจที่เกิดขึ้นระหว่างครอบครัวของนักเรียนกับครอบครัวของเพื่อน

บ้าน โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - เพื่อนบ้านที่นักเรียนชื่นชอบและประทับใจ คือ ครอบครัวใด (นักเรียนตอบตาม จริง)

ความเป็น

- ครอบครัวของเพื่อนบ้านคนนั้นมีสมาชิกกี่คน ใครบ้าง (นักเรียนตอบตามความเป็นจริง) - นักเรียนประทับใจอะไรในครอบครัวของเพื่อนบ้านคนนี้ (นักเรียนตอบตาม

ความเป็นจริง)

- ถ้าให้นักเรียนถ่ายทอดเรื่องราวความประทับใจในเพื่อนบ้านออกมาเป็นภาพวาด นักเรียนจะทาได้หรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ได้) 4. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์

ทีใ่ ช้ในการวาดภาพ เพื่อเตรียมวาดภาพระบายสีเกีย่ วกับเพื่อนบ้าน

5. นักเรียนนึกภาพเรื่องราวความประทับใจที่เกิดขึ้นระหว่างครอบครัวของตนเองกับครอบครัวของเพื่อนบ้าน จากนั้นลง

มือวาดภาพระบายสีเรื่องราวความประทับใจเหล่านั้นลงในกระดาษวาดเขียน ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 6. นักเรียนนาภาพของตนเองมาวิจารณ์และชื่นชมผลงานร่วมกับเพือ่ น

ขั้นสรุป 7.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ภาพสามารถถ่ายทอดเรื่องราวได้ดี เราสามารถใช้ภาพ

เล่าเรื่องราวได้

11. . สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้

1. กระดาษวาดเขียน 2. ดินสอ 3. สีไม้ แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น

ระดับคะแนน ๔







ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

1. เอกภาพ

1. เอกภาพ

1. เอกภาพ

2. ความสมดุล

2. ความสมดุล

2. ความสมดุล

3. จุดเด่น

3. จุดเด่น

3. จุดเด่น

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

มีวินัย

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 วิชาทัศนศิลป์ 3 ตัด ฉีก ปะติด แสนสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

26

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

8

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง

วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตัด ฉีก ปะติด และการปะติด เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/5 (ควรรู้) สร้างภาพ ปะติด โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการ ตัด ฉีก ปะติด และบอกวิธีการปะติดด้วยรูปเรขาคณิต (K) 2. สร้างงานศิลปะโดยการปะติดด้วยรูปเรขาคณิต (P) 3. ชื่นชมผลงานการปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต (A)

4.

สาระสาคัญ

ภาพปะติดจากกระดาษที่ตดั หรือฉีก เป็นงานทัศนศิลป์รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากงานวาด แต่เหมือนกันที่ ผู้สร้างสรรค์ จะต้องมีความรู้เรื่องสี เรื่องการออกแบบ และมีความคิดสร้างสรรค์

5.

สาระการเรียนรู้ 1. 2.

วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตัด ฉีก ปะติด การปะติดด้วยรูปเรขาคณิต

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน สร้างงานศิลปะโดยการปะติดด้วยรูปเรขาคณิต

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ตัด ฉีก ปะติด และบอกวิธีการ ปะติดด้วยรูปเรขาคณิต

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างงานศิลปะโดยการปะติด ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ด้วยรูปเรขาคณิต

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานการปะติด ด้วย รูปเรขาคณิต

10.

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. ครูนาภาพปะติดจากกระดาษทีต่ ัดหรือฉีกมาให้นักเรียนดู นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น คาถาม ดังนี้

โดยครูใช้

- ภาพที่นักเรียนเห็นเกิดขึ้นจากวิธีการใด (ตัวอย่างคาตอบ การฉีกหรือตัดกระดาษแล้วนามาติดกับ กระดาษวาดเขียน) - นักเรียนเคยทางานศิลปะแบบนี้หรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ เคย / ไม่เคย) - การทางานศิลปะแบบนี้ เรียกว่าอะไร (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ภาพที่นักเรียนเห็น คือ ภาพปะติด ภาพปะติดจากกระดาษที่ตัดหรือฉีก เป็นงานทัศนศิลป์

รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากงานวาด แต่เหมือนกันที่ผสู้ ร้างสรรค์จะต้องมีความรู้เรื่องสี การออกแบบ และมีความคิดสร้างสรรค์ 3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตัด ฉีก ปะติด โดยครูใช้คาถามดังนี้

- นักเรียนรูห้ รือไม่ว่าวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ตัด ฉีก ปะติด มีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์และ ความเข้าใจ) 4. ครูนาวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตัด ฉีก ปะติด มาให้นักเรียนดู จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการ

ตัด ฉีก ปะติด ได้แก่ กระดาษชนิดต่างๆ กรรไกร กาว กระดาษสาหรับติดภาพ ดินสอ และยางลบสาหรับร่างภาพ 5. ครูอธิบายพร้อมสาธิตวิธีการตัดฉีก ดังนี้

ฉีกหรือตัดกระดาษเป็นชิ้นๆ ให้มีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกัน เก็บใส่ ภาชนะ เช่น ชามหรือขันพลาสติกเพื่อความสะดวกในการหยิบมาใช้ปะติด ครูให้ข้อสังเกตกับนักเรียนว่า เราสามารถใช้กระดาษได้ทุกชนิดมาตัด ฉีก และปะติด เป็นภาพศิลปะต่างๆ ถ้านักเรียนมี กระดาษเหลือใช้ให้หาที่เก็บไว้ อย่าทิ้งเกลื่อนกลาด 6. ครูสาธิตวิธีการปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต ดังนี้ 1. ใช้กรรไกรตัดกระดาษสีเป็นรูปเรขาคณิตต่างๆ เช่น

วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงรี เป็นต้น โดยตัดแต่

ละรูปให้มีขนาดที่แตกต่างกัน 2. นาชิ้นกระดาษสีที่ตัดเหล่านั้น มาเรียงบนกระดาษสาหรับติดภาพ ให้เกิดเป็นภาพต่างๆ

อย่างมีจินตนาการ

3. ทากาวปะติดชิ้นกระดาษสีให้กลายเป็นผลงานภาพปะติดทีส่ วยงาม 7. นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม กลุม่ ละ 3 – 4 คน เพื่อใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน แต่ละคนตัดกระดาษสีเป็นรูปเรขาคณิตตามที่ครู

สาธิต จากนั้นจินตนาการภาพต่างๆ ที่ต้องการปะติด แล้วลงมือปะติด เป็นภาพตามจินตนาการ ครูคอยให้กาลังใจและเสนอแนะ เพิ่มเติม 8. นักเรียนนาผลงานของตนเองมาวิจารณ์และชื่นชมร่วมกับเพื่อน 9. ให้นักเรียนเก็บวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ให้เรียบร้อย ครูสังเกตพฤติกรรม 10. หลังจากสร้างสรรค์ผลงานภาพปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต และเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนร่วมกัน

แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - วัสดุที่ใช้ในการตัด ฉีก ปะติด มีอะไรบ้าง ( ตัวอย่างคาตอบ กระดาษชนิดต่างๆ สาหรับติดภาพ)

กระดาษ

- อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ตัด ฉีก ปะติด มีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ กรรไกร กาว ดินสอ และยางลบสาหรับ ร่างภาพ)

- การตัด ฉีก ปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต มีขั้นตอนและวิธีการอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ใช้กรรไกรตัด กระดาษสีเป็นรูปเรขาคณิตต่างๆ ให้มีขนาดที่แตกต่างกัน นาชิน้ กระดาษสีที่ตัดเหล่านั้น มาเรียงบนกระดาษสาหรับ ติดภาพ ทากาวปะติดชิ้นกระดาษสีที่เรียงไว้) - นักเรียนรูส้ ึกอย่างไร ที่ได้สร้างสรรค์ผลงาน ตัด ฉีก ปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต(ชอบ มีความสุข) 11. ครูให้ความรูเ้ พิ่มเติมกับนักเรียนว่า

ในการทางานตัด ฉีก ปะติดนั้น นักเรียนจะต้องเป็นผู้ที่มองเห็นความงามของ กระดาษต่างๆ ไม่วา่ กระดาษสี กระดาษหนังสือพิมพ์ หรือนิตยสารทีไ่ ม่ใช้แล้ว ซึ่งมีสสี ัน ลวดลาย และตัวอักษรสวยงาม ไม่ซ้ากัน นักเรียนต้องเก็บสะสมกระดาษเหล่านี้ไว้ให้เรียบร้อย เพื่อนามาใช้สร้างสรรค์ผลงาน ขั้นสรุป 12.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ เศษกระดาษทุกชนิด สามารถนามาสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ได้ ถ้ามี

จินตนาการ

11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษชนิดต่างๆ 2. กรรไกร 3. กาว 4. กระดาษสาหรับติดภาพ 5. ดินสอ และยางลบ แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น

ระดับคะแนน ๔







ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม

3

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตัง้ ใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

มีวินัย

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 วิชาทัศนศิลป์ 3 ตัด ฉีก ปะติด แสนสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

27

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว

8

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

*******************************************************************************************************

1

ชัว่ โมง

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/5 (ควรรู้) สร้างภาพปะติด โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายวิธีการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว (K) 2. สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว (P) 3. ชื่นชมผลงานการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว (A)

4.

สาระสาคัญ

ภาพปะติดจากกระดาษที่ตดั หรือฉีก เป็นงานทัศนศิลป์รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากงานวาด แต่เหมือนกันที่ ผู้สร้างสรรค์ จะต้องมีความรู้เรื่องสี เรื่องการออกแบบ และมีความคิดสร้างสรรค์

5.

สาระการเรียนรู้ การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

อธิบายวิธีการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานการตัด ฉีก ปะ ติด ด้วยกระดาษสีเดียว

10.

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ตัด ฉีก ปะติด และการตัด ฉีก ปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต โดยครูใช้ คาถาม ดังนี้

- วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตัด ฉีก ปะติด มีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ กระดาษชนิดต่างๆ กรรไกร กาว กระดาษสาหรับติดภาพ ดินสอ และยางลบสาหรับร่างภาพ) - ในชั่วโมงที่แล้ว นักเรียนเรียนรู้เทคนิคการปะติดด้วยอะไร (การตัด ฉีก ปะติด เรขาคณิต)

ด้วยรูป

- การปะติดด้วยรูปเรขาคณิต ใช้กระดาษอะไรในการสร้างผลงาน (ตัวอย่างคาตอบ กระดาษสี) ขั้นสอน 2. ให้ตัวแทนนักเรียนออกมาทบทวนวิธีการปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต ครูและเพื่อนคนอื่นๆ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนัน้ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นดังนี้ - นักเรียนคิดว่านอกจากการปะติดด้วยรูปเรขาคณิตแล้ว กระดาษสีสามารถนามาปะติดด้วยวิธีการหรือ เทคนิคใดได้อีก (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการตัด ฉีก ปะติด

4. ครูสาธิตการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียวให้นักเรียนดู โดยครูใช้ดินสอร่างภาพที่ต้องการเบาๆ 2 ภาพ แล้วใช้มือ ฉีกภาพที่วาด 1 ภาพ และใช้กรรไกรตัด 1 ภาพ จากนั้นนาภาพที่ฉีกและตัด มาปะติดลงบนกระดาษ 5. นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม เพื่อใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน แต่ละคนร่างภาพต่างๆ ที่ต้องการเบาๆ ลงบนกระดาษสี ที่ตนเองชื่น

ชอบ คนละ 4 – 5 ภาพ ฉีก และตัดภาพต่างๆ เหล่านั้นอย่างละ 2 – 3 ภาพ จากนั้นนาภาพที่ได้มาจัดวางแล้วปะติดเป็นเรื่องราว ต่างๆ ลงบนกระดาษ 6. ครูเลือกตัวแทนนักเรียน 4 – 5 คน ออกมานาเสนอผลงานของตนเองด้วยการเล่าสิ่งที่อยู่ในภาพเป็นเรื่องราวต่างๆ

ตามจินตนาการ จากนั้นนักเรียนร่วมกันชื่นชมผลงาน 7. ครูให้คาแนะนาเพิ่มเติมกับนักเรียนว่า ทุกครั้งที่นักเรียนทางานปะติดเสร็จ ต้องเก็บวัสดุ อุปกรณ์ให้เรียบร้อยแล้วล้าง

มือให้สะอาด 8. ครูให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย แล้วล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม 9. หลังจากสร้างสรรค์ผลงานภาพปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว และเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนร่วมกัน

แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว มีขั้นตอนและวิธีการอย่างไรบ้าง (คาตอบร่างภาพที่ต้องการเบาๆ ลงในกระดาษ แล้วฉีกหรือใช้กรรไกรตัดภาพนั้น มาปะติดลงบนกระดาษ) - นักเรียนรูส้ ึกอย่างไร ที่ได้สร้างสรรค์ผลงาน ตัด ฉีก ปะติด (คาตอบ ชอบ มีความสุข)

ขั้นสรุป 10. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ เราสามารถสร้างงานปะติดด้วยกระดาษสีเดียว โดยการใช้ดินสอร่างภาพที่ ต้องการ เบาๆ แล้วฉีกหรือใช้กรรไกรตัดภาพนั้นมาปะติดลงบนกระดาษ

11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษสี 2. กาว กรรไกร 3. กระดาษสาหรับติดภาพ แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑



เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 วิชาทัศนศิลป์ 3 ตัด ฉีก ปะติด แสนสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

28

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี

8

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/5 (ควรรู้) สร้างภาพปะติด โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี (K) 2. สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี (P) 3. ชื่นชมผลงานการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี (A)

4.

สาระสาคัญ

ภาพปะติดจากกระดาษที่ตดั หรือฉีก เป็นงานทัศนศิลป์รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากงานวาด แต่เหมือนกันทีผ่ ู้สร้างสรรค์จะต้อง มีความรูเ้ รื่องสี เรื่องการออกแบบ และมีความคิดสร้างสรรค์

5.

สาระการเรียนรู้ การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

อธิบายวิธีการตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานการตัด ฉีก ปะ ติด ด้วยกระดาษหลายสี

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องการ ตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ในชั่วโมงที่แล้วนักเรียนเรียนรูเ้ ทคนิคการปะติดด้วยอะไร (การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียว) - นักเรียนคิดว่า การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษสีเดียวมีความสวยงามหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ มีความสวยงาม) - ถ้าเราใช้กระดาษหลายสีมาตัด ฉีก ปะติด ลงในภาพ 1 ภาพ ภาพนั้นจะเป็นอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ สวยงามมากขึน้ )

ขั้นสอน 2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า นอกจากเราจะใช้กระดาษสีเดียวมาใช้ในการตัด ฉีก ปะติดภาพแล้ว ถ้าเรานากระดาษ หลากหลายสีมาตัด ฉีก และปะติดเป็นภาพต่างๆ เราจะได้ผลงานที่สวยงามมากขึ้น 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการตัด ฉีก ปะติด

4. ครูสาธิต การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี โดยการตัดหรือฉีกกระดาษสีต่างๆ เป็นส่วนประกอบของภาพ ตามที่ จินตนาการ จากนั้นนากระดาษที่ตัดหรือฉีกไว้แล้ว มาปะติดให้เป็นภาพเดียวกัน ลงบนกระดาษ 5. นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม เพื่อใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน แต่ละคนจินตนาการภาพต่างๆ ที่ต้องการปะติด

แล้วร่างภาพ ส่วนประกอบต่างๆ ของภาพ ลงในกระดาษสีต่างๆ ตัดและฉีกตามภาพที่ร่าง นาส่วนประกอบต่างๆ ที่ตัด และฉีกไว้แล้ว มาปะติด ลงบนกระดาษให้เป็นภาพตามที่จนิ ตนาการไว้ 6. ครูเลือกผลงานของนักเรียน 2 – 3 คน ออกมานาเสนอผลงานของตนเองด้วยการเล่าสิ่งที่อยู่ในภาพเป็นเรื่องราวต่างๆ

ตามจินตนาการให้เพื่อนๆ ฟัง จากนั้นร่วมกันชื่นชมผลงาน (นักเรียนที่ออกมานาเสนอผลงานไม่ควรซา้ กับคนที่ออกมานาเสนอใน ชั่วโมงที่แล้ว) 7. นักเรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย แล้วล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม 8. หลังจากสร้างสรรค์ผลงานภาพปะติด ด้วยกระดาษหลายสี และเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนร่วมกัน

แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - การตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี มีขั้นตอนและวิธีการอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ จินตนาการภาพ ต่างๆ ที่ต้องการปะติด แล้วร่างภาพส่วนประกอบต่างๆ ของภาพ ลงในกระดาษสีต่างๆ ตัดและฉีกตามภาพที่ร่าง นา ส่วนประกอบต่างๆ ที่ตัด และฉีกไว้แล้ว มาปะติดลงบนกระดาษ) - นักเรียนรูส้ ึกอย่างไร ที่ได้สร้างสรรค์ผลงาน ตัด ฉีก ปะติด ด้วยกระดาษหลายสี คาตอบ ชอบ มีความสุข)

(ตัวอย่าง

ขั้นสรุป 9. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ถ้าเราใช้กระดาษหลากหลายสีมา ตัด ฉีก ปะติดเป็นภาพตามจินตนาการ จะได้ผลงานที่สวยงามมากขึ้น

11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษสี

2. กรรไกร 3. กาว 4. กระดาษสาหรับติดภาพ 5. ดินสอ และยางลบ

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน



รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าทีค่ วาม ชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้

มีวินัย

รหัสวิชา ศ 12101 วิชาทัศนศิลป์ 3 ตัด ฉีก ปะติด แสนสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

29

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

การตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี

8

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง

เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/5 (ควรรู้) สร้างภาพปะติด โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี (K) 2. สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี (P) 3. ชื่นชมผลงาน การตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี (A)

4.

สาระสาคัญ

ภาพปะติดจากกระดาษที่ตดั หรือฉีก เป็นงานทัศนศิลป์รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากงานวาด แต่เหมือนกันทีผ่ ู้สร้างสรรค์จะต้อง มีความรูเ้ รื่องสี เรื่องการออกแบบ และมีความคิดสร้างสรรค์

5.

สาระการเรียนรู้ การตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

อธิบายวิธีการตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างงานศิลปะโดยการตัด ฉีก ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ปะติด บนกระดาษสี

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงาน การตัด ฉีก ปะ ติด บนกระดาษสี

10.

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องการ ปะติด ด้วยรูปเรขาคณิต การฉีก ตัด ปะติดด้วยกระดาษสีเดียว และการตัด ฉีก ปะ ติด ด้วยกระดาษหลายสี โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ใน 3 ชั่วโมงที่ผ่านมา นักเรียนได้เรียนรู้การตัด ฉีก ปะติด ด้วยวิธกี ารและเทคนิคอะไรบ้าง (การปะติดด้วย รูปเรขาคณิต การตัด ฉีก ปะ ด้วยกระดาษสีเดียว การตัด ฉีก ปะ ด้วยกระดาษหลายสี)

- นักเรียนชอบการตัด ฉีก ปะ ด้วยวิธีการและเทคนิคอะไรมากที่สุด เพราะอะไร (นักเรียนตอบตาม ความรู้สึก และความเข้าใจ) - การตัด ฉีก ปะติด ทั้ง 3 วิธี นักเรียนใช้กระดาษสีอะไรเป็นพื้นหลังในการติดภาพ (ตัวอย่างคาตอบ กระดาษสีขาว) - นักเรียนคิดว่าถ้าเราใช้กระดาษสีอื่นๆ เป็นพื้นหลังในการติดภาพ ภาพของเราจะสวยงามขึ้นกว่าเดิมหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ สวยงามกว่าเดิม) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า เมื่อนักเรียนฉีก หรือตัดกระดาษเป็นรูปร่างต่างๆ แล้วนามาปะติดบนกระดาษสีสันสดใส ก็ จะได้ภาพปะติดที่สร้างสรรค์ หลากสีสวยงาม และถ้านักเรียนฉีกหรือตัดกระดาษโดยไม่มีการร่างภาพไว้ก่อน ก็จะได้ภาพปะติดที่ดู แปลกตา น่าสนใจ แต่ภาพที่ใช้การฉีกหรือตัดโดยไม่มีการร่างภาพไว้ก่อนนั้น ควรจะมีขนาดใหญ่เพื่อให้การฉีกหรือตัดอย่างอิสระ ของเรา เป็นไปโดยสะดวก 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการตัด ฉีก ปะติด

4. ครูสาธิตการตัด ฉีก กระดาษโดยไม่ต้องร่างภาพ แล้วปะติด ภาพตามจินตนาการ ลงบนกระดาษทีม่ ีสีสัน 5. นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม เพื่อใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน จากนั้นนักเรียนตัดหรือฉีกกระดาษเป็นภาพต่างๆตามจินตนาการโดย

ไม่ต้องร่างภาพ ลงในกระดาษสีต่างๆ ที่ตนเองชื่นชอบ ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาว่า ขณะที่นักเรียนกาลังฉีกหรือตัด กระดาษโดยไม่มีการร่างภาพไว้ก่อน ขอให้นักเรียนพยายามนึกภาพด้วยใจ ไม่ต้องกลัวว่าภาพจะออกมาไม่สวยหรือบิดเบีย้ ว เพราะ เราสร้างผลงานโดยการใช้จินตนาการและการมองอย่างมีศลิ ปะ 6. นักเรียนนาผลงานของตนเองมาร่วมชื่นชมและวิจารณ์ร่วมกับเพื่อน จากนั้นพิจารณาว่าภาพของใครที่สวยงามมากทีส่ ุด

ให้เพื่อนๆ กล่าวชื่นชม เจ้าของผลงานพูดถึงแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ 7. นักเรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย แล้วล้างมือให้สะอาด พฤติกรรม

ครูสังเกต

8. หลังจากสร้างสรรค์ผลงานภาพปะติด บนกระดาษสี และเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนร่วมกันแสดง

ความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - การตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี มีขั้นตอนและวิธีการอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ฉีก หรือตัดกระดาษเป็นรูปร่างต่างๆ แล้วนามาปะติดบนกระดาษสีสันสดใส) - นักเรียนรูส้ ึกอย่างไร ที่ได้สร้างสรรค์ผลงาน ตัด ฉีก ปะติด บนกระดาษสี (ชอบ มีความสุข) ขั้นสรุป

9. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ เมื่อเราฉีก หรือตัดกระดาษเป็นรูปร่างต่างๆ แล้วนามาปะติดบนกระดาษสีสัน

สดใส ก็จะได้ภาพปะติดสร้างสรรค์ หลากสีสวยงาม ดูแปลกตาและน่าสนใจ

11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษสี 2. กรรไกร กาว 3. ดินสอ และยางลบ 4. กระดาษสาหรับติดภาพ

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔





คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ.............................



คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อืน่ จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

มีวินัย

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 วิชาทัศนศิลป์ 3 ตัด ฉีก ปะติด แสนสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

30

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

การตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต

8

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชัว่ โมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/5 (ควรรู้) สร้างภาพปะติด โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต (K) 2. สร้างงานศิลปะโดยการตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต (P) 3. ชื่นชมผลงานการตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต (A)

4.

สาระสาคัญ

ภาพปะติดจากกระดาษที่ตดั หรือฉีก เป็นงานทัศนศิลป์รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากงานวาด แต่เหมือนกันทีผ่ ู้สร้างสรรค์จะต้อง มีความรูเ้ รื่องสี เรื่องการออกแบบ และมีความคิดสร้างสรรค์

5.

สาระการเรียนรู้ การตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน สร้างงานศิลปะโดยการตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

อธิบายวิธีการตัด ปะติด บน รูปเรขาคณิต

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างงานศิลปะโดยการตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานการตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

10.

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. ครูนาภาพร่างรูปเรขาคณิตต่างๆ เช่น ภาพวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม มาให้นักเรียนดู นักเรียนร่วมกันแสดงความ คิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- ภาพที่นักเรียนเห็นคือรูปอะไร (ตัวอย่างคาตอบ รูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และวงกลม) - นักเรียนคิดว่าภาพเหล่านี้มีความสวยงามหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ไม่มี) - นักเรียนคิดว่ามีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้รูปเรขาคณิตเหล่านี้มสี ีสันและความสวยงามมากขึ้น (ตัวอย่าง คาตอบ ระบายสีต่างๆ ลงไป ตัดกระดาษมาปะติด) ขั้นสอน 2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า นอกจากการระบายสีลงบนรูปเรขาคณิตเพื่อให้เกิดสีสันและ ความ สวยงามแล้ว เราสามารถตัด หรือฉีกกระดาษ และนามาปะติดลงบนรูปเรขาคณิต เพื่อให้เกิดความสวยงามได้เช่นกัน และ ผลงานที่ออกมาจะแตกต่างจากการระบายสีธรรมดา 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการตัด ปะติด

4. ครูสาธิตการตัดหรือฉีกกระดาษ แล้วติดลงบนรูปเรขาคณิตที่ร่างไว้ ให้นักเรียนดู 5. นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม เพื่อใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน

จากนั้นแต่ละคนใช้ดินสอวาดรูปเรขาคณิตง่ายๆ บนกระดาษสาหรับ ติดภาพ ฉีกกระดาษหลากสีเป็นชิน้ เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง แล้วทากาวบางๆ ปะติดลงบนรูปร่างที่รา่ งไว้จนเต็มรูป 6. นักเรียนนาผลงานของตนเองมาร่วมชื่นชมและวิจารณ์ร่วมกับเพื่อน

7. นักเรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม 8. หลังจากสร้างสรรค์ผลงานภาพปะติด บนรูปเรขาคณิต และเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนร่วมกันแสดง

ความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - การตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต มีขั้นตอนและวิธีการอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบใช้ดินสอวาดรูป เรขาคณิตง่ายๆ บนกระดาษสาหรับติดภาพ ฉีกกระดาษหลากสีเป็นชิน้ เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง แล้วทากาวบางๆ ปะติดลง บนรูปร่างที่ร่างไว้จนเต็มรูป) - นักเรียนรูส้ ึกอย่างไร ที่ได้สร้างสรรค์ผลงาน ตัด ฉีก ปะติด บนรูปเรขาคณิต คาตอบ ชอบ มีความสุข)

(ตัวอย่าง

ขั้นสรุป 9. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การตัด ปะติด บนรูปเรขาคณิต คือ

รูปเรขาคณิตทีร่ ่างไว้

11. สื่อการเรียนรู้

การตัดหรือฉีกกระดาษหลากสีมาติดบน

1. กระดาษหลากสี 2. กรรไกร 3. กาว 4. กระดาษสาหรับติดภาพ 5. ดินสอ และยางลบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 12101 วิชาทัศนศิลป์ 3 ตัด ฉีก ปะติด แสนสนุก แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

31

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

การตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป

8

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง

เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

*******************************************************************************************************

1.

มาตรฐานการเรียนรู้ มฐ. ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์

คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.

ตัวชี้วัด ป. 2/5 (ควรรู้) สร้างภาพปะติด โดยการตัดหรือฉีกกระดาษ

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายวิธีการตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป (K) 2. สร้างงานศิลปะโดยการตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป (P) 3. ชื่นชมผลงานการตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป (A)

4.

สาระสาคัญ

ภาพปะติดจากกระดาษที่ตดั หรือฉีก เป็นงานทัศนศิลป์รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากงานวาด แต่เหมือนกันทีผ่ ู้สร้างสรรค์จะต้อง มีความรูเ้ รื่องสี เรื่องการออกแบบ และมีความคิดสร้างสรรค์

5.

สาระการเรียนรู้ การตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด การใช้ทักษะชีวิต

7.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8.

ชิ้นงาน/ภาระงาน สร้างงานศิลปะโดยการตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

อธิบายวิธีการตัด ปะติด บน รูปร่างทั่วไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างงานศิลปะโดยการตัด ปะ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ติด บนรูปร่างทั่วไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานการตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป

10.

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา 1. ครูนาภาพปะติดบนรูปร่างของผลไม้ต่างๆ มาให้นักเรียนดู นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ดังนี้ - ภาพปะติดที่นักเรียนเห็นคือภาพอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ภาพผลไม้)

โดยครูใช้คาถาม

- นักเรียนคิดว่าภาพปะติดรูปผลไม้เหล่านี้สวยงามหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ สวยงาม) - นักเรียนคิดว่านอกจากการตัด ปะติดกระดาษสี บนรูปผลไม้แล้ว เราสามารถตัด ปะติด รูปภาพอื่นๆ ได้อีกหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ได้)

บน

- ถ้าให้นักเรียนตัด ปะติดบนภาพต่างๆ นักเรียนจะตัดปะติดบนรูปภาพอะไร (นักเรียนตอบตามความ ต้องการและความชอบ) ขั้นสอน 2. ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการตัด ฉีก ปะติด

3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วๆ ไป ก่อนอื่นต้องใช้ดินสอร่างภาพอย่างเบาๆ ลงบนกระดาษ เป็นรูปภาพง่ายๆ ที่ไม่มีรายละเอียดมาก จากนั้นตัดกระดาษสีให้เป็นรูปร่างที่มีเหลี่ยมมีมมุ ขนาดต่างกัน นามาทากาว แล้วติดลง บนภาพทีร่ ่างไว้ โดยกาหนดเอาไว้ก่อนว่าบริเวณไหนจะใช้สีอะไร 4. นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม เพื่อใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน แต่ละคนใช้ดินสอร่างภาพง่ายๆ ไม่มรี ายละเอียดมาก ตามจินตนาการ

และความชอบ จากนั้นลงมือสร้างภาพงานตัด ปะติดบนรูปร่างทั่วไป ครูคอยให้กาลังใจและให้ข้อเสนอแนะว่า การปะติดกาว กระดาษ โดยเว้นช่องระหว่างชิ้นกระดาษไว้เล็กน้อย จะช่วยทาให้ภาพปะติดของเราสวยงามมากยิ่งขึ้น 5. นักเรียนนาผลงานของตนเองมาร่วมชื่นชมและวิจารณ์ร่วมกับเพื่อน

6. ครูให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม 7. หลังจากสร้างสรรค์ผลงานภาพปะติด บนรูปร่างทั่วไป และเก็บวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เรียบร้อยแล้ว นักเรียนร่วมกันแสดง

ความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - การตัด ปะติด บนรูปร่างทั่วไป มีขั้นตอนและวิธีการอย่างไรบ้าง (คาตอบ ใช้ดินสอร่างภาพต่างๆ ตามจินตนาการและความชอบ ตัดกระดาษสีให้เป็นรูปร่างที่มีเหลี่ยมมีมมุ ขนาด ต่างกัน นามาทากาว แล้วติดลงบนภาพที่ร่างไว้ โดยกาหนดไว้ว่าบริเวณใดจะใช้สีอะไร) - นักเรียนรูส้ ึกอย่างไร ที่ได้สร้างสรรค์ผลงาน ตัด ฉีก ปะติด บนรูปร่างทั่วไป (ชอบ มีความสุข)

ขั้นสรุป

8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การร่างภาพอย่างเบาๆ ลงบนกระดาษเป็นภาพต่างๆ ตามจินตนาการ แล้ว ตัดกระดาษสีต่างๆ ให้เป็นรูปร่างที่มีเหลี่ยมมีมมุ ขนาดต่างกัน กาหนดภาพที่ร่างไว้ว่าบริเวณใดจะใช้สีอะไร จากนั้นนากระดาษที่ตดั ไว้แล้วมาทากาวแล้วติดลงบนภาพที่ร่างไว้ จะได้ภาพปะติดทีส่ วยงาม 9. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้ - การเลือกสีของกระดาษเพื่อใช้ในการปะติดภาพ มีความสาคัญหรือไม่ อย่างไร 11. สื่อการเรียนรู้

1. กระดาษหลากสี 2. กรรไกร 3. กาว 4. กระดาษสาหรับติดภาพ 5. ดินสอ และยางลบ แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔





คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ.............................



คะแนน คะแนน ต่ากว่า

16 -20 12-15 12

ดี ปานกลาง ปรับปรุง

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

เท่ากับ ๓ เท่ากับ ๒ เท่ากับ ๑

เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน 4

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง 3 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

3

2

1

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ ความหมายตามภาระงานที่ ความหมายตามภาระ กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 2 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป 1 ข้อได้แก่ 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด ผลงานแปลกใหม่ ผลงาน แปลกใหม่ สร้างสรรค์ เกิดจากความคิดของ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่างของ กลุ่ม

ผลงานลอกเลียนแบบ จาก ผลงานลอกเลียนแบบ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น จากความคิดผูอ้ ื่น/กลุ่ม บางส่วน อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย

เรียบร้อย ตรงต่อเวลา กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบัตไิ ด้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง ไม่มีการวางแผน/ไม่มี หน้าที่รับผิดชอบขาดความ การแบ่งหน้าที่ความ ชัดเจน รับผิดชอบ

แผนการสอน ป.3

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 2 วาดทุกสิ่งใกล้ตัว แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

1.

วิชาทัศนศิลป์

21

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

3

การวาดภาพธรรมชาติ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึกความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/1 บรรยายรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ มฐ.ศ 1.1 ป. 3/4 วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัว

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บรรยาย รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ (K) 2. วาดภาพระบายสีจากความคิด ความฝัน และจินตนาการ (P) 3. ชื่นชมผลงานการวาดภาพของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

ในธรรมชาติ ทุกสิ่งทุกอย่างนั้นได้รับการออกแบบมาอย่างลงตัว ทั้งรูปร่าง รูปทรง เส้นและสี ล้วนเป็นครูของผู้เรียน ศิลปะอย่างแท้จริง เมื่อมองดูต้นไม้ในธรรมชาติอาจจะดูคล้ายๆ กัน แต่ความเป็นจริงแล้วมีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น เส้น รูปร่าง รูปทรง พุ่มใบ ดอก ลาต้น สีของต้นไม้แต่ละต้น นักเรียนต้องรู้จักสังเกตและแยกแยะความแตกต่างได้

5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ การวาดภาพระบายสีจากความคิด ความฝัน และจินตนาการ

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

ออกแบบวาดภาพระบายสีจากความคิด ความฝัน และจินตนาการ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัด ประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/ คาถาม

บรรยายรูปร่างรูปทรงใธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์

ด้านทักษะ กระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน

วาดภาพระบายสีจากความคิดความฝัน ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป และจินตนาการ

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/

ชื่นชมผลงานการวาดภาพของตนเอง และผู้อื่น

คาถาม

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา( 10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการวาดภาพธรรมชาติ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- การวาดภาพธรรมชาติ มีกี่แบบ อะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ 3 แบบ 1. วาดจากการที่เราได้ไปเห็นของ จริงแล้วเกิดแรงบันดาลใจ 2. วาดจากการดูรูปถ่ายแล้วเกิดความประทับใจอยากนามาถ่ายทอดเป็นภาพ 3. วาด จากความคิด ความฝัน และจินตนาการ) - ใน ๒ ชั่วโมงที่ผ่านมา นักเรียนได้เรียนรู้การวาดภาพแบบใดบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ การวาดจากการที่เราได้ ไปเห็นของจริงแล้วเกิดแรงบันดาลใจ การวาดจากการดูรูปถ่ายแล้วเกิดความประทับใจอยากนามาถ่ายทอดเป็น ภาพ) - นักเรียนยังไม่ได้เรียนรู้การวาดภาพแบบใด (ตัวอย่างคาตอบ การวาดภาพจากความคิด ความฝัน และ จินตนาการ) - นักเรียนคนใดเคยมีประสบการณ์ในการวาดภาพ จากความคิด ความฝัน และจินตนาการ (นักเรียนตอบตาม ประสบการณ์) ขั้นสอน(40 นาที) 2. ให้นักเรียนที่เคยมีประสบการณ์ในการวาดภาพจากความคิด ความฝัน และจินตนาการ ออกมาเล่าประสบการณ์ในการ

วาดภาพให้เพื่อนฟังในหัวข้อต่อไปนี้ 1. นักเรียนเคยวาดภาพอะไร 2. นักเรียนมีวิธีคิด และจินตนาการภาพที่จะวาดอย่างไรบ้าง 3. ผลงานที่ออกมาเป็นอย่างไร 3. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพ 4. นักเรียนคิด และจินตนาการภาพต่างๆ ที่ต้องการวาด จากนั้นลงมือวาดภาพตามความคิดและจินตนาการ ครูให้

คาแนะนาและคอยให้กาลังใจ 5. ครูให้ข้อแนะนาเกี่ยวกับการระบายสีภาพวาดว่า

การระบายสีภาพที่เราวาดเสร็จแล้ว เราสามารถเลือกชนิดของสีที่เรา ชอบมาใช้ได้ แต่ในบางครั้งเราต้องดูความเหมาะสมด้วย เช่น ถ้ารูปที่เราวาดมีขนาดเล็กก็ไม่เหมาะที่จะใช้สีเทียนในการระบายใน การระบายสีภาพที่เราวาดนั้นจะระบายสีให้เหมือนจริงหรือตามความคิดของเราเองก็ได้

จากนั้นให้นักเรียนเลือกใช้สีให้เหมาะกับภาพวาดของตนเอง 6. นักเรียนนาเสนอผลงานของตนเอง โดยการเล่าเรื่องราวในภาพให้เพื่อนๆ ฟัง จากนั้นให้ครูและเพื่อนร่วมติชม ครูให้

ข้อสังเกตเพิ่มเติมว่า สีทุกชนิดมีวธิ ีและเทคนิคการใช้ต่างกัน นักเรียนควรศึกษาเรียนรู้ทดลอง และแก้ไขด้วยตนเองจนเข้าใจ จะทา ให้เราสามารถสร้างงานศิลปะที่มีความหลากหลายได้มากยิ่งขึ้น 7. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ในการวาดภาพให้เรียบร้อย

ขั้นสรุป(10 นาที) 8.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การวาดภาพจากความคิด ความฝัน และจินตนาการ เป็น

การสร้างสรรค์ ผลงานที่ไม่มีแบบในการวาดภาพที่ตายตัว ผูส้ ร้างสรรค์สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความคิด และจินตนาการลงในภาพได้อย่างเต็มที่ เพราะไม่ต้องกลัวผิด 9. นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- นักเรียนชอบการวาดภาพแบบใดมากที่สดุ เพราะอะไร

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1. กระดาษวาดเขียน 2. ดินสอ 3. สีไม้

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น

ระดับคะแนน ๔







ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 2 วาดทุกสิ่งใกล้ตัว แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

วิชาทัศนศิลป์

22

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

สิ่งที่ควรฝึกสาหรับคนมีศิลป์

3

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/1 บรรยายรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ มฐ.ศ 1.1 ป. 3/4 วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัว

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวิธีการฝึกฝนเพื่อสร้างสรรค์งานศิลปะ (K) 2. ฝึกฝนวิธีสร้างสรรค์งานศิลปะเพื่อนามาใช้ในการวาดภาพระบายสี (P) 3. ชื่นชมผลงานการวาดภาพของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

การเป็นคนช่างสังเกต ช่างคิด และช่างจินตนาการ ถึงสิ่งต่างๆ ที่อยูร่ อบตัว ในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จะทาให้เรา สร้างสรรค์ผลงานออกมาได้อย่างหลากหลายและไม่ซ้าใคร

5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ สิ่งที่ควรฝึกสาหรับคนมีศลิ ป์

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

ออกแบบวาดภาพระบายสีจากความคิด ความฝัน และจินตนาการ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกวิธีการฝึกฝนเพื่อ สร้างสรรค์งานศิลปะ

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

ฝึกฝนวิธีสร้างสรรค์งานศิลปะ เพื่อนามาใช้ในการวาดภาพ ระบายสี

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานการวาดภาพของ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ตนเองและผู้อื่น

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา(

10

นาที)

1. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- นักเรียนคิดว่าจิตรกรที่วาดภาพเก่งๆ มีวิธีการฝึกฝนตนเองอย่างไรบ้าง ขั้นสอน(40 นาที) 2. ครูแนะนานักเรียนว่า นักเรียนควรใช้เวลาว่างออกไปสารวจธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบๆ โรงเรียน เช่น

ต้นไม้

ดอกไม้ นก แมลง สัตว์ต่างๆ สนามเด็กเล่น ซึ่งนักเรียนจะเห็นเส้นต่างๆ มากมาย 3. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพให้พร้อมเพื่อออกไปวาดภาพนอกห้องเรียน 4. ครูนานักเรียนออกไปสารวจสิ่งต่างๆ นอกห้องเรียน ให้นักเรียนสังเกตสิ่งต่างๆ ที่อยู่ภายในบริเวณโรงเรียน จากนั้นครู

ให้ข้อสังเกตกับนักเรียนว่า ถ้านักเรียนมองออกไปที่สนามหญ้า นักเรียนอาจจะเห็นต้นหญ้า ใบไม้ ดอกไม้ร่วง มีลักษณะรูปร่างที่ แตกต่างกัน ซึ่งมีความงามไปคนละแบบ หรือเมื่อมองขึ้นไปบนท้องฟ้าก็จะเห็นก้อนเมฆ ที่มีรูปร่างรูปทรงที่ไม่ซ้ากัน ชวนให้เกิด จินตนาการ 5. นักเรียนฝึกสังเกตและมองสิ่งต่างๆ อย่างมีศิลปะ จากนั้นเลือกมุมมองในการวาดภาพสิ่งต่างๆ แล้วลงมือวาดภาพ

ระบายสี 6. นักเรียนนาผลงานของตนเองมาให้คุณครูและเพื่อนๆ ช่วยติชม 7. ครูให้ความรูเ้ พิ่มเติมกับนักเรียนว่า ในธรรมชาติรอบตัว ไม่ว่าต้นไม้ ดอกไม้ ล้วนมีความสวยงามอยูใ่ นตัว เพียงแต่เรา

มองหามุมหรือจังหวะที่พอดี ก็สามารถสร้างงานศิลปะขึ้นมาได้อย่างสวยงาม บางครั้งในภาพเดียวกัน แต่ศิลปินมองเห็นเส้นสี ไม่ เหมือนกัน จึงสร้างภาพออกมาแตกต่างกันตามความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคน นักเรียนก็เช่นเดียวกัน ควรมองด้วยดวงตานัก สร้างสรรค์เพื่อให้ผลงานมีความแปลกใหม่ มีความหลากหลายแตกต่างทั้งเส้น สีสัน และรูปทรง ก็จะเกิดผลงานใหม่ๆ ที่น่าชื่นชม ขึ้นในวงการศิลปะ

ขั้นสรุป(10 นาที) 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การเป็นคนช่างสังเกต ช่างคิด และช่างจินตนาการ

ในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จะทาให้เราสร้างสรรค์ผลงานออกมาได้อย่างหลากหลายและไม่ซ้าใคร

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1. กระดาษวาดเขียน

ถึงสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว

2. ดินสอ 3. สีไม้

แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง



เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 2 วาดทุกสิ่งใกล้ตัว แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

วิชาทัศนศิลป์

23

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

3

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง

สิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานวาดภาพของตนเองเวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/1 บรรยายรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ มฐ.ศ 1.1 ป. 3/4 วาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัว มฐ.ศ 1.1 ป. 3/8 ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตนเอง

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกสิ่งที่ควรชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในผลงานของตนเอง (K) 2. ปรับปรุงวิธีการวาดภาพของตนเอง (P) 3. ชื่นชมผลงานการวาดภาพของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

ในการสร้างสรรค์ผลงานวาดภาพแต่ละชิ้น ย่อมมีสิ่งที่เจ้าของผลงานชื่นชมอยู่ในใจ เช่น เป็นผลงานที่ถ่ายทอดสิ่งที่ มองเห็นได้ตรงตามความต้องการ หรือใช้สีในภาพวาดได้อย่างสวยงาม หรือผลงานมีความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ เป็นต้น สิ่ง เหล่านี้ทาให้เจ้าของผลงานมีความสุขและภาคภูมิใจ

5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ สิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานวาดภาพของตนเอง

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน

8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

ออกแบบวาดภาพระบายสีจากความคิด ความฝัน และจินตนาการ

9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกสิ่งที่ควรชื่นชมและสิ่งที่ ควรปรับปรุงในผลงานของ ตนเอง

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

ปรับปรุงวิธีการวาดภาพของ ตนเอง

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานการวาดภาพของ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ตนเองและผู้อื่น

10.

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา(10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ควรฝึกสาหรับคนมีศลิ ป์ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- สิ่งที่คนมีศิลป์ควรฝึก มีอะไรบ้าง (คาตอบ การเป็นคนช่างสังเกต มองสิ่งต่างๆ โดยใช้จินตนาการรู้จัก ปรับปรุงและแก้ไขข้อบกพร่องในผลงานของตนเอง ฝึกฝนการวาดภาพบ่อยๆ) - นักเรียนคิดว่าการนาผลงานของตนเองมาให้ครูและเพื่อนร่วมติชม มีความสาคัญอย่างไร (คาตอบ นาข้อติ ชมนัน้ ๆ มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาผลงานการวาดภาพของตนเอง) ขั้นสอน(40 นาที) 2. ครูนานักเรียนไปสารวจสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติรอบๆ โรงเรียน แล้วให้นักเรียนวาดภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่

นักเรียนพบ ลงในกระดาษวาดเขียน โดยให้แต่ละคนวาดภาพอย่างสุดฝีมือ แล้วใช้สีทตี่ นเองถนัดและชื่นชอบระบายสีให้กับ ภาพวาดนั้น 3. เมื่อนักเรียนวาดภาพระบายสีภาพที่ตนเองคิดว่าดีที่สดุ เสร็จแล้ว ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า

ในการสร้างสรรค์ผลงาน วาดภาพแต่ละชิ้น ย่อมมีสิ่งที่เจ้าของผลงานชื่นชมอยู่ในใจ เช่น เป็นผลงานที่ถ่ายทอดสิ่งที่มองเห็นได้ตรงตามความต้องการ หรือใช้ สีในภาพวาดได้อย่างสวยงาม หรือผลงานมีความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ทาให้เจ้าของผลงานมีความสุขและ ภาคภูมิใจ 4. ให้นักเรียนนาผลงานของตนเองออกมานาเสนอหน้าชั้น บอกชื่อผลงาน แล้วบอกสิ่งที่ชื่นชมและภูมใิ จในภาพวาดของ

ตนเอง 5. ครูให้คาแนะนาเพิม่ เติม ว่าถ้าหากนักเรียนรูส้ ึกว่า ยังสร้างผลงานได้ไม่ดีเท่าที่ใจต้องการ นักเรียนควรค้นหาว่า เกิดจาก

สาเหตุอะไร และควรแก้ไขปรับปรุงในจุดนั้น เช่น ยังขาดความกล้า ไม่กล้าวาด ไม่กล้าใช้สี หรือยังไม่ได้ใช้ความพยายามในการวาด เท่าที่ควร นักเรียนก็ต้องปรับปรุงตนเองให้มีความมั่นใจในการวาดภาพมากขึ้น หรือหมั่นฝึกฝนและใช้ความตั้งใจ ความพยายามใน การวาดให้มากขึ้น ซึ่งจะทาให้นักเรียนพัฒนาฝีมือการวาดภาพได้อย่างรวดเร็ว

6. ให้นกั เรียนค้นหาจุดบกพร่องในภาพวาดของตนเอง จากนั้นแก้ไขจุดบกพร่องในภาพวาดของตนเอง

ขั้นสรุป(10 นาที) 7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ถ้าเราสร้างสรรค์ผลงานแล้วรู้สึกว่า ยังสร้างผลงานได้ไม่ดีเท่าที่ใจต้องการ เรา

ควรค้นหาว่า เกิดจากสาเหตุอะไร และปรับปรุงแก้ไขในจุดนั้น 8. นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการวาดภาพให้เรียบร้อย 9. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- สิ่งที่นักเรียนรู้สึกชื่นชมในผลงานของตนเองคืออะไร

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1. กระดาษวาดเขียน 2. ดินสอ 3. สีไม้

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด

ระดับคะแนน ๔







การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชดั เจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

9

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 24 งานปั้น : วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานปัน้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น 3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในงานปั้น (K) 2. เขียนแผนภาพความคิด วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้น (P) 3. เห็นความสาคัญของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้น (A)

4.

สาระสาคัญ

งานปั้น (ประติมากรรม) เป็นงาน ๓ มิติ เป็นศิลปะแขนงหนึ่งในงานทัศนศิลป์ มีความงามที่ตาเห็นและเป็นสิ่งที่สามารถ จับต้องได้ วัสดุที่ใช้ในงานปั้นมักจะใช้วัสดุที่มีเนื้อเหนียวยืดหยุ่นได้ โดยทั่วไปใช้ดินเหนียวดินน้ามัน กระดาษหนังสือพิมพ์แช่น้า ผสมกาว

5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ งานปั้น

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

เขียนแผนภาพความคิด วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้น 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

วิธีการวัดผล

เครื่องมือการวัด ประเมินผล

ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/ คาถาม

บอกวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในงานปั้น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย ไป

2

ขึ้น

ด้านทักษะ กระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน

เขียนแผนภาพความคิด วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ใน ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย งานปั้น ไป

2

ขึ้น

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/

เห็นความสาคัญของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้น ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย ไป

2

ขึ้น

คาถาม

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา(10 นาที) 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับประสบการณ์ในการสร้างสรรค์งานปั้น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- นักเรียนเคยปั้นสิ่งต่างๆ หรือไม่ (เคย / ไม่เคย) - นักเรียนเคยปั้นอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์)

- วัสดุที่นักเรียนเคยนามาใช้ปั้นมีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ดินเหนียว ดินน้ามัน) - อุปกรณ์ที่นักเรียนใช้ในการปั้นมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - งานปั้นมีลักษณะเด่นอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) ขั้นสอน(40 นาที) 2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า งานปั้น หรือที่เรียกว่า งานประติมากรรม เป็นงาน ๓ มิติ เป็นศิลปะแขนงหนึ่งในงาน

ทัศนศิลป์ มีความงามที่ตาเห็นและเป็นสิ่งที่สามารถจับต้องและสัมผัสได้ วัสดุที่ใช้ในงานปั้นมักจะใช้วัสดุที่มีเนื้อเหนียวยืดหยุ่นได้ โดยทั่วไปใช้ดินเหนียว ดินน้ามัน กระดาษหนังสือพิมพ์แช่น้าผสมกาว 3. ครูนาดินเหนียว ดินน้ามัน และกระดาษแช่น้าผสมกาวมาให้นักเรียนดู จากนั้นนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดย

ครูใช้คาถามดังนี้ 3.1

ครูให้นักเรียนดูดินเหนียว ให้นักเรียนทดลองจับต้อง แล้วแสดงความคิดเห็น ดังนี้ - สิ่งที่นักเรียนเห็น คืออะไร (ดินเหนียว) - ดินเหนียวมีคณ ุ สมบัติอย่างไรบ้าง (คาตอบ มีความเหนียวหนึบ เกาะตัวได้ดี) - ดินเหนียวมีข้อดีอย่างไรบ้าง (คาตอบ ราคาไม่แพง บางท้องถิ่นหาได้ง่าย ไม่ต้องซื้อ) - การเก็บรักษาดินเหนียว ควรทาอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ คลุมด้วยผ้าชุบน้า)

ถ้านักเรียนตอบไม่ครอบคลุมหรือไม่ครบถ้วน ครูอาจให้ความรูเ้ พิ่มเติม 3.2

ครูให้นักเรียนดูดินน้ามัน ให้นกั เรียนทดลองจับต้อง แล้วแสดงความคิดเห็น ดังนี้ - สิ่งที่นักเรียนเห็น คืออะไร (ดินน้ามัน) - ดินน้ามันมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง (คาตอบ มีความเหนียวหนึบ เกาะตัว ได้ดี)

- ดินน้ามันมีข้อดีอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ มีจาหน่ายทั่วไป ราคาไม่แพง หลายขนาดหลายสี มีทั้งชนิดที่เป็นแท่งเหลี่ยม แท่งกลม สามารถใช้ปั้นสลับสีได้ตามต้องการ)

มี

- การเก็บรักษาดินน้ามัน ควรทาอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ อย่าให้ถูกความร้อน เพราะดิน น้ามันจะละลาย หรือถ้าถูกความเย็นดินน้ามันจะแข็งตัว ระวังไม่ให้สีของดินน้ามันผสมกัน) ถ้านักเรียนตอบไม่ครอบคลุมหรือไม่ครบถ้วน ครูอาจให้ความรูเ้ พิ่มเติม 3.3

ครูให้นักเรียนดูกระดาษหนังสือพิมพ์แช่น้าผสมกาว ให้นักเรียนทดลองจับต้อง แล้วแสดงความคิดเห็น ดังนี้

- สิ่งที่นักเรียนเห็น คืออะไร (กระดาษหนังสือพิมพ์แช่น้าผสมกาว) - กระดาษหนังสือพิมพ์แช่น้าผสมกาว มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง (คาตอบ เกาะตัวได้ดี) - กระดาษหนังสือพิมพ์แช่น้าผสมกาว มีข้อดีอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ไม่ต้องซื้อ สามารถทา ขึ้นใช้เองได้) ถ้านักเรียนตอบไม่ครอบคลุมหรือไม่ครบถ้วน ครูอาจให้ความรูเ้ พิ่มเติม 4. ให้นักเรียนดูเครื่องมือปั้นต่างๆ เช่น มีดปลายแหลมขนาดต่างๆ ถังน้า กระดาน ผ้าคลุมดิน ไม้คลึง เป็นต้น ครูอธิบาย

ให้นักเรียนฟังว่า เครื่องมือปั้นมีความสาคัญ นามาใช้ตัด ขูด คลึงดิน และสร้างพื้นผิวและลวดลายต่างๆ ให้กับงาน เครื่องมือปั้นมี หลายชนิดที่จดั ขายสาเร็จรูป และเครื่องมือที่ดัดแปลงจากวัสดุรอบๆ ตัว 5. ครูให้นักเรียนดูเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้นทีละชิ้น จากนั้นนักเรียนบอกว่าเครื่องมือและอุปกรณ์แต่ละชนิด ใช้

ทาอะไรบ้าง ตัวอย่างเช่น มีดปลายแหลมต่างๆ ใช้ในการตัด ขูด และสร้างพื้นผิว ถังน้า ใช้สาหรับการปั้นดินเหนียว กระดานหรือ แผ่นพลาสติกใช้สาหรับรองปั้น ผ้าคลุมดิน ใช้คลุมดินกันดินแห้ง ไม้คลึงดิน ใช้คลึงดินเหนียวให้เป็นแผ่นแบนเรียบ เป็นต้น 6. ครูให้นักเรียนสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัว แล้วพิจารณาว่าถ้าไม่มเี ครื่องมือและอุปกรณ์ตา่ งๆ ตามข้อ 5 นักเรียนสามารถ

ดัดแปลงสิ่งใดเพื่อใช้แทนเครื่องมือและอุปกรณ์เหล่านั้น 7. นักเรียนเล่นเกม ฉันคืออะไร โดยมีวิธีการเล่น ดังนี้ 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุม ่ กลุ่มละเท่าๆ กัน 2. แต่ละกลุ่ม ตั้งชื่อกลุม่ ของตนเอง ครูเขียนชื่อแต่ละกลุ่มลงบนกระดาน 3. ครูอ่านประโยคฉันคืออะไร ให้นักเรียนฟังเป็นข้อๆ ดังนี้

- ฉันใช้สาหรับรองปั้น ฉันคืออะไร - ฉันใช้ในการปั้นดินเหนียว ฉันคืออะไร - ฉันทาให้ดินเหนียวหรือดินน้ามันเป็นแผ่นแบนเรียบ หนา บาง ตามความต้องการ ฉันคืออะไร - ฉันมีหน้าที่ตัดดินน้ามันให้ออกมาเป็นรูปร่างและรูปทรง ฉันคืออะไร - ฉันป้องกันไม่ให้ดินแห้ง ฉันคืออะไร - ฉันเก็บไว้ใช้ได้ดีโดยการคลุมผ้าชุบน้า ฉันคืออะไร - ฉันมีราคาที่ไม่แพง บางท้องถิ่นหาได้ง่าย ไม่ต้องซื้อ ฉันคืออะไร - ฉันมีจาหน่ายทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายขนาดหลายสี ฉันคืออะไร

8. เมื่อครูอ่านประโยคจบในแต่ละข้อ ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่ม 1 คน ยกมือขึ้น ตัวแทนกลุ่มใดยกมือได้เร็วที่สดุ มีสิทธิได้

ตอบในข้อนั้นๆ 9. ถ้ากลุ่มที่ยกมือก่อน ตอบคาถามได้ถูกต้อง ครูขดี คะแนนให้กลุ่มนั้น ข้อละ 1 คะแนน แต่ถ้ากลุ่มทีย่ กมือก่อนตอบ

คาถามไม่ถูก กลุ่มที่เหลือแข่งกันยกมือตอบ เมื่อตอบถูก ครูบันทึกคะแนนให้กลุ่มนั้นๆ 1 คะแนน 10. เมื่อครบทุกข้อ กลุ่มที่ได้คะแนนมากที่สุดเป็นกลุ่มที่ชนะ 11. ครูให้ตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการปั้นเป็นแผนภาพความคิดลงบนกระดาน ดังนี้

กระดำษหนังสือพิมพ์ แช่นำ้ ผสมกำว ดินนำ้ มัน

ดินเหนียว

วัสดุ

กระดำน

ไม้คลึงดิน ถังนำ้

งานปั้ น เครื่องมือและอุปกรณ์

มีดตัด

เครื่องมือปั้นที่ดดั แปลง จำกวัสดุรอบตัว

เครื่องมือปั้น

ผ้ำคลุมดิน

ที่มีขำย

ขั้นสรุป(10 นาที) 12. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ วัสดุ และอุปกรณ์ตา่ งๆ มีความจาเป็นในการสร้างสรรค์ผลงานปั้น การเลือก

วัสดุและอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับงานปั้นแต่ละอย่าง เป็นสิ่งที่จาเป็น เพราะการปั้นบางประเภทต้องใช้วัสดุและอุปกรณ์เฉพาะจึงจะ ได้ผลงานที่สมบูรณ์แบบ 13.

ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้ - นักเรียนคิดว่าสิ่งใดที่จาเป็นที่สดุ ในการสร้างสรรค์งานปั้น

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน , ดินเหนียว

2.

เครื่องมือและอุปกรณ์ในการปัน้

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง



ลงชื่อ...............................................ผู้ประเมิน (.................................................)

เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินยั ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

9

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 25 งานปั้น : งานปั้นรูปทรงเรขาคณิต

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น 3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอนในการปั้นรูปทรงเรขาคณิต (K) 2. สร้างสรรค์งานปั้นรูปทรงเรขาคณิต (P) 3. ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ การปั้นรูปทรงเรขาคณิต คือ การปั้นรูปทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก ซึ่งเป็น การปั้นประเภท

ลอยตัว 5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ การปั้นรูปทรงเรขาคณิต

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นรูปทรงเรขาคณิต ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้น 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกวัสดุอุปกรณ์แลtขั้นตอนในการ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ปั้นรูปทรงเรขาคณิต

ด้านทักษะ กระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างสรรค์งานปั้นรูปทรงเรขาคณิต

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและ ผู้อื่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา( 10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับงานปั้น และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้น โดยครูใช้คาถามดังนี้

- งานปั้นถือเป็นงานประเภทใด (คาตอบ ประเภท 3 มิติ) - วัสดุที่ใช้ในงานปั้น มีอะไรบ้าง (ดินเหนียว ดินน้ามันกระดาษหนังสือพิมพ์แช่น้าผสมกาว) - เครื่องมือที่ใช้ในงานปั้นมีอะไรบ้าง (คาตอบ กระดาน ถังน้า ผ้าคลุมดินไม้คลึงดิน มีดตัด) - นักเรียนเคยใช้วัสดุ อุปกรณ์ อะไรในการสร้างสรรค์งานปั้นบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - นักเรียนเคยสร้างสรรค์งานปั้นอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์)

- ทุกครั้งที่นักเรียนได้สร้างสรรค์งานปั้นนักเรียนรู้สึกอย่างไร (นักเรียนตอบตามความรู้สึก) ขั้นสอน(40 นาที) ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การปั้นเป็นการสร้างผลงานทัศนศิลป์ที่น่าสนุก เพราะสามารถดูได้ด้วยตาและสัมผัสได้ด้วย มือ ได้บริหารกล้ามเนื้อนิ้วมือ มีความเพลิดเพลิน ที่ได้ปั้น ปะ ตัด 2.

3.

ครูนางานปั้นรูปทรงเรขาคณิต คือ รูปปั้นทรงกลม สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม ทรงกระบอกมาให้นกั เรียนดู จากนั้น บอกกับนักเรียนว่า ขั้นแรกของการฝึกปั้น เราจะปั้นอย่างง่ายๆ เช่น ทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยม ทรงสามเหลี่ยม ทรงกระบอก ซึ่ง เป็นการปั้นประเภทลอยตัว 4. นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปั้นรูปทรงเรขาคณิต 5. นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์ปั้นรูปทรงเรขาคณิตต่างๆ 6. ครูจุดประกายความคิดให้นักเรียนฟังว่า รูปทรงเหล่านีส้ ามารถดัดแปลงและต่อเติม ตัด แปะ พอก

ให้เป็นสิ่งต่างๆ ได้

ตามความคิดสร้างสรรค์ 7. ครูสาธิตการนารูปทรงเรขาคณิต มาดัดแปลงและต่อเติมเป็นสิ่งต่างๆ 8. นักเรียนร่างภาพสิ่งต่างๆ เป็นต้นแบบหลายๆ แบบ บนกระดาษ แล้วเลือกภาพที่ถูกใจมาสร้างเป็นงานปั้น โดยใช้

รูปทรงเรขาคณิตที่ปั้นไว้ 9. นักเรียนนาผลงานของตนเองมาให้เพื่อนและครูร่วมติชม 10. นักเรียนแสดงความรู้สึกหลังจากได้สร้างสรรค์งานปั้น 11. ให้นักเรียนเก็บวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม

ขั้นสรุป( 10 นาที) 12.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ งานปั้นรูปทรงเรขาคณิต สามารถดัดแปลงและต่อเติม ตัด แปะ พอก ให้เป็น

สิ่งต่างๆ ได้ตามความคิดสร้างสรรค์ 13. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย

ดังนี้

- การปั้นรูปทรงเรขาคณิตมีความสาคัญต่อการพัฒนาการปั้นของตนเองอย่างไรบ้าง

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน

2.

ไม้บรรทัด

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง



เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน ๔ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

การจัด มีการนาองค์ประกอบของ องค์ประกอบ การออกแบบมาใช้ ศิลป์ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น







ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่สื่อ สื่อความหมายตรงตามภาระ ความหมายตามภาระงานที่ งานที่กาหนด กาหนดไม่ชดั เจน

ผลงานไม่เสร็จและไม่ สื่อความหมายตาม ภาระงานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบของ การออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ ผลงานลอกเลียนแบบ จาก เกิดจากความคิดของตนเอง/ ความคิดผู้อื่น/กลุม่ อื่น กลุ่มตนเอง บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบเรียบร้อย

มีวินัย

มีวินัย ตั้งใจ

เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

กระบวนการ มีการวางแผน/ ทางานเดี่ยว/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กลุ่ม ปฏิบตั ิได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การแบ่ง หน้าที่รับผิดชอบขาดความ ชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

9

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 26 ปั้นสนุกนูนต่ากับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (1)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น 3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอนในการปั้นนูนต่า (K) 2. สร้างสรรค์งานปั้นนูนต่าตามแบบ (P) 3. ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

การปั้นนูนต่า เป็นการสร้างสรรค์ผลงานโดยการแผ่ดินน้ามันให้เป็นฐานสาหรับสร้างผลงาน แล้วปั้นดินน้ามันสีตา่ งๆ ให้ เป็นรูปแบบมาติดแปะ 5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ ปั้นสนุกนูนต่ากับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนตา่ ตามแบบ ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานปั้น 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/ คาถาม

บอกวัสดุอุปกรณ์ การปั้นนูนต่า

และขั้นตอนใน ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ ( P) งาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนต่าตามแบบ

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและ ผู้อื่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

–แบบสังเกตพฤติกรรม/

คาถาม

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา(10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับงานปั้นรูปทรงเรขาคณิต โดยครูใช้คาถามดังนี้

- ในชั่วโมงที่แล้วนักเรียนสร้างสรรค์ผลงานปั้นอะไร (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - ผลงานปั้นของนักเรียนใช้รูปทรงอะไรในการปั้น (ตัวอย่างคาตอบ รูปทรงเรขาคณิต) - การปั้นของนักเรียนเป็นงานปั้นประเภทใด (ตัวอย่างคาตอบ งานปั้นประเภทลอยตัว) ขั้นสอน( 40 นาที) 2. ครูนาภาพงานปั้นนูนต่า เช่น ภาพฐานอนุสาวรีย์ มาให้นักเรียนดู นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม

ดังนี้

- งานปั้นในภาพมีลักษณะอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ รูปปั้นนูนขึน้ มาจากฐานเล็กน้อย) - งานปั้นลักษณะเช่นนี้ จัดอยู่ในงานปั้นประเภทใด (ประเภทนูนต่า) - นอกจากฐานอนุสาวรีย์แล้ว นักเรียนเคยเห็นงานปั้นนูนตา่ ที่ใดอีกบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - นักเรียนคิดว่า ตนเองสามารถสร้างสรรค์งานปั้นประเภทนีไ้ ด้หรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ได้) 3. ครูนางานปั้นนูนต่าที่ปั้นเป็นรูปธรรมชาติต่างๆ มาเป็นแบบให้กับนักเรียนฝึกปั้นรูปนูนตา่ จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟัง

ว่า การสร้างภาพนูนต่า ขั้นแรกนักเรียนต้องแผ่ดินน้ามันให้เป็นฐานสาหรับสร้างผลงาน แล้วปั้นดินน้ามันสีต่างๆ ให้เป็นรูปแบนๆ ตามรูปทรงต่างๆ ที่กาหนด มาติดแปะ 4. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานปั้น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- ถ้านักเรียนต้องการปั้นรูปนูนต่าตามแบบต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์อะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ดินน้ามัน กระดาน เครื่องมือปั้นที่มีปลายแหลม) 5. ให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปั้น 6. นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์การปั้นที่เตรียมไว้สร้างสรรค์งานปั้นตามแบบที่ครูกาหนด ครูแนะนานักเรียนเพิ่มเติมว่า ถ้า

นักเรียนต้องการพื้นผิวในงานปั้น ควรหาอุปกรณ์ต่างๆ มาทาให้เกิดพื้นผิวแปลกๆ เช่น ใช้เครื่องมือปัน้ ที่มีปลายแหลม ใช้ตะปูหรือ ปลายดินสอมาสร้างผิวให้งานปั้น 7. นักเรียนนาเสนอผลงานโดยอธิบายขั้นตอนและวิธีการสร้างสรรค์ครูและเพื่อนๆช่วยกันติชม 8. ให้นักเรียนเก็บวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม

ขั้นสรุป(10 นาที) 9.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การปั้นนูนตา่ เป็นการสร้างสรรค์ผลงานโดยการแผ่ดินน้ามันให้เป็นฐานสาหรับ

สร้างผลงาน แล้วปั้นดินนา้ มันสีต่างๆ ให้เป็นรูปแบบมาติดแปะ 10. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- การปั้นรูปนูนต่าแตกต่างจากการปั้นประเภทอื่นๆ อย่างไรบ้าง

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน

2.

กระดาน

3.

เครื่องมือปั้นปลายแหลม

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ ระดับคะแนน

รายการประเมิน







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง



เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

9

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 27 ปั้นสนุกนูนต่ากับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วสั ดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น 3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอนในการปั้นนูนต่า (K) 2. สร้างสรรค์งานปั้นนูนต่าตามความคิดและจินตนาการ (P) 3. ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

ถ้าเราใช้ความคิดและจินตนาการมาใช้ในการสร้างสรรค์งานปั้นนูนต่า จะทาให้สร้างสรรค์ผลงานออกมาได้อย่างเต็มที่ และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง 5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ ปั้นสนุกนูนต่ากับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนตา่ ตามความคิดและจินตนาการ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอน ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ในการปั้นนูนต่า

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนต่าตาม ความคิดและจินตนาการ

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานปั้นของตนเอง และผู้อื่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา( 10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับการปั้นนูนต่าตามแบบ โดยครูใช้คาถามดังนี้

- การปั้นนูนต่ามีขั้นตอนอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ แผ่ดินน้ามันให้เป็นฐานสาหรับสร้างผลงาน แล้วปั้นดิน น้ามันสีต่างๆ ให้เป็นรูปแบนๆ ตามรูปแบบต่างๆ มาติดแปะ) ขั้นสอน(40 นาที) 2. ครูให้ข้อสังเกตกับนักเรียนว่า ในการปั้นนูนต่า นักเรียนไม่จาเป็นต้องปั้นตามแบบต่างๆ ที่กาหนด ก็ได้ เพราะใน

ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา ล้วนมีสิ่งที่สวยงามและน่าสนใจ บางครั้งนักเรียนมองสิ่งต่างๆ รอบๆ ตัวก็สามารถสร้างแรง บันดาลใจหรือสร้างจินตนาการถึงสิ่งต่างๆ ได้อย่างมากมาย สิ่งต่างๆรอบตัวของเราเป็นครูอย่างดีให้กบั เราในการฝึกฝนและ สร้างสรรค์ผลงานชิ้นเอก

3. ให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่จะใช้ในการปั้นของตนเอง 4. ครูแนะนานักเรียนเพิ่มเติมว่า นักเรียนอาจจะสร้างเป็นรูปสวนดอกไม้ตามจินตนาการโดยใช้ดินสอร่างคร่าวๆ บนพื้น

งาน หรืออาจจะสร้างผลงานนูนตา่ เป็นภาพใต้ท้องทะเล โดยเริ่มจากการทาแผ่นฐานดินน้ามันสีน้าเงิน และใช้นิ้วตกแต่งพื้นผิวให้ดู คล้ายพื้นน้าใต้ท้องทะเล แล้วปั้นตัวปลาบนแผ่นฐาน โดยเลือกใช้ดินน้ามันที่มีสสี ันตัดกับสีของท้องทะเล จากนั้นปั้นปะการังและ สาหร่าย แปะตกแต่งเพิ่มเติม 5. นักเรียนจินตนาการภาพต่างๆ ที่ต้องการปั้น จากนั้นใช้วัสดุ อุปกรณ์การปั้นที่เตรียมไว้สร้างสรรค์งานปั้นนูนต่าตาม

จินตนาการของตนเอง ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 6. นักเรียนนาเสนอผลงานของตนเอง โดยบอกวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ และอธิบายขั้นตอนวิธีการในการสร้างสรรค์ ครูและ

เพื่อนๆ ช่วยกันติชม 7. ให้นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม

ขั้นสรุป(10 นาที) 8.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ล้วนมีความสวยงามและมีความน่าสนใจ

ในการสร้างสรรค์ผลงาน ถ้าเราใช้ความคิดบวกกับจินตนาการสร้างสรรค์งานปั้นนูนต่าจากสิ่งที่เห็น จะทาให้เราสร้างสรรค์ผลงาน ออกมาได้อย่างเต็มที่ และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง 9. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- นักเรียนจะนาผลงานการปั้นรูปนูนต่าของตนเองไปใช้ประโยชน์อะไร 11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน

2.

กระดาน

3.

เครื่องมือปั้นปลายแหลม

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔





คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ.............................



คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน ๔



ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้





ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

9

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 28 การปั้นนูนสูง (1)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วสั ดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น

3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอนในการปั้นนูนสูง (K) 2. สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตามแบบ (P) 3. ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

การปั้นนูนสูง มีวิธีการปั้นคล้ายกับการปั้นนูนต่า คือ ต้องปั้นแผ่แผ่นฐานก่อน โดยจะทาเป็นรูปกลมๆ รูปสามเหลีย่ ม หรือ รูปสี่เหลี่ยมก็ได้ แล้วปั้นรูปนูนสูงแปะบนแผ่นฐาน โดยให้นูนขึ้นมาในระดับที่มองเห็นจากด้านข้างได้ชดั เจน 5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ การปั้นนูนสูง

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตามแบบ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

ด้านความรู้ (K)

เครื่องมือการวัด ประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรม/ คาถาม

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมินชิ้นงาน/ ( P) ภาระงาน

วิธีการวัดผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ประเมินผล บอกวัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอนในการ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ปัน้ นูนสูง สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตามแบบ

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/

ชื่นชมผลงานปัน้ ของตนเองและผูอ้ ื่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

คาถาม

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา( 10 นาที) 1. ครูนาภาพหรือผลงานการปั้นนูนต่า และการปั้นนูนสูง มาให้นักเรียนดูอย่างละ ๑ ภาพ นักเรียนร่วมกันแสดงความ

คิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - ภาพหรือผลงานปั้นที่นักเรียนเห็นทั้ง 2 ภาพ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร คาตอบ รายละเอียดของภาพไม่เหมือนกัน ความนูนของภาพสูงไม่เท่ากัน)

(ตัวอย่าง

- ภาพทั้ง 2 ภาพ จัดเป็นภาพประเภทเดียวกันหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ไม่) - นักเรียนคิดว่าภาพใดเป็นภาพนูนต่า ภาพใดเป็นภาพนูนสูง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) - ภาพนูนต่าและภาพนูนสูงแตกต่างกันอย่างไร (คาตอบ ภาพนูนตา่ เป็นการปั้นภาพให้นูนออกมาเล็กน้อย แต่ภาพนูนสูงจะปั้นนูนขึ้นมาจากพื้นสูงจนมองเห็นด้านข้างได้อย่างชัดเจน) - นักเรียนเคยปั้นภาพนูนสูงหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ เคย / ไม่เคย) - นักเรียนรู้หรือไม่ว่าการปั้นนูนสูงมีวิธีการอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) ขั้นสอน(40 นาที) 2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การปั้นนูนสูง มีวิธีการปั้นคล้ายกับการปั้นนูนต่า คือ ต้องปั้นแผ่แผ่นฐานก่อน โดยจะทา

เป็นรูปกลมๆ รูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยมก็ได้ แล้วปั้นรูปนูนสูงแปะบนแผ่นฐาน โดยให้นูนขึ้นมาในระดับที่มองเห็นจากด้านข้าง ได้ชัดเจน 3. ครูนาผลงานปั้นนูนสูงมาให้นักเรียนฝึกปั้นตามแบบ นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- ถ้าให้นักเรียนปั้นรูปนูนสูงตามแบบ นักเรียนจะปั้นได้หรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ได้) - ถ้านักเรียนต้องการปั้นรูปนูนสูงตามแบบต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์อะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ดินน้ามัน กระดาน เครื่องมือปั้นที่มีปลายแหลม) 4. ให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปั้น

5. นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์การปั้นที่เตรียมไว้สร้างสรรค์งานปั้นตามแบบที่ครูกาหนด ครูแนะนานักเรียนเพิ่มเติมว่า

นักเรียนต้องออกแบบจัดวางรูปร่าง รูปทรงให้เหมาะสม มีการวางรูปให้สมดุล สร้างพื้นผิวของงานให้น่าสนใจ และรูปปั้นจะต้องนูน มาก ไม่แบนราบเรียบ 6. นักเรียนนาเสนอผลงานโดยอธิบายขั้นตอนและวิธีการสร้างสรรค์ครูและเพื่อนๆช่วยกันติชม 7. ให้นักเรียนเก็บวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม

ขั้นสรุป(

10 นาที) 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การปั้นนูนสูง มีวิธีการปัน ้ คล้ายกับการปั้นนูนต่า คือ ต้องปั้นแผ่แผ่นฐานก่อน

โดยจะทาเป็นรูปกลมๆ รูปสามเหลี่ยม หรือรูปสีเ่ หลีย่ มก็ได้ แล้วปั้นรูปนูนสูงแปะบนแผ่นฐาน โดยให้นูนขึ้นมาในระดับที่มองเห็น จากด้านข้างได้ชัดเจน 9. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- สิ่งที่นักเรียนควรคานึงถึงมากทีส่ ุดในการปั้นนูนสูงคืออะไร

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน

2.

กระดาน

3.

เครื่องมือปั้นปลายแหลม

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น

ระดับคะแนน ๔







ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







คุณภาพ ผลงาน

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 29 การปั้นนูนสูง (2)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

9

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

1

ชั่วโมง

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น 3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอนในการปั้นนูนสูง (K) 2. สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตามความคิดและจินตนาการ (P) 3. ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

ถ้าเรานาความคิดและจินตนาการมาใช้ในการสร้างสรรค์งานปั้นนูนสูง จะทาให้สร้างสรรค์ผลงานออกมาได้อย่างเต็มที่ และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง 5.

สาระการเรียนรู้ ความรู้ การปั้นนูนสูง

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตามความคิดและจินตนาการ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกวัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอน ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ในการปั้นนูนสูง

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตาม ความคิดและจินตนาการ

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานปั้นของตนเอง และผู้อื่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา(10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับการปั้นนูนต่า และการปั้นนูนสูงตามแบบ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- การปั้นนูนสูงแตกต่างจากการปัน้ นูนต่าอย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ การปั้นนูนต่าจะ ปั้นรูปให้นูน ออกมาจากแผ่นฐานเล็กน้อย ส่วนการปั้นนูนสูงจะปัน้ รูปให้นูนออกมาจากแผ่นฐานมากจนเห็นด้านข้างได้ชัดเจน) - การปั้นนูนสูงมีวิธีการและขั้นตอนอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ วิธีการปั้นคล้ายกับ การ ปั้นนูนต่า จะต่างกันตรงที่รูปปั้นต่างๆ ที่นามาแปะบนแผ่นฐาน จะต้องนูนขึ้นมาในระดับที่มองเห็นจากด้านข้างได้ ชัดเจน) ขั้นสอน(40 นาที) 2. ครูให้ข้อสังเกตกับนักเรียนว่า ในชั่วโมงที่แล้ว นักเรียนได้สร้างสรรค์ผลงานปั้นนูนสูง จากแบบที่กาหนดให้เพื่อเป็นการ

ฝึกฝนเบื้องต้น แต่ความจริงแล้วการปั้นนูนสูงไม่จาเป็นต้องปั้นตามแบบต่างๆ ที่กาหนด ก็ได้ เพราะนักเรียนแต่ละคน มีความสนใจ ในสิ่งต่างๆ ที่แตกต่างกัน การสร้างผลงานตามความคิดและจินตนาการของตนเอง จะทาให้นักเรียนได้ผลงานชิ้นเอกที่เป็น เอกลักษณ์และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเองได้มากกว่าการสร้างตามแบบ 3. ให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่จะใช้ในการปั้นภาพนูนสูงตามจินตนาการและความชอบของตนเอง 4. นักเรียนจินตนาการภาพต่างๆ ที่ต้องการปั้น จากนั้นใช้วัสดุ อุปกรณ์การปั้นที่เตรียมไว้สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตาม

จินตนาการของตนเอง ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 5. นักเรียนนาเสนอผลงานของตนเอง โดยบอกวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ และอธิบายขั้นตอนวิธีการใน

การสร้างสรรค์ ครูและเพื่อนๆ ช่วยกันติชม 6. นักเรียนแสดงความรู้สึกหลังจากได้สร้างสรรค์งานปั้น

7. ให้นักเรียนเก็บวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม

ขั้นสรุป(10 นาที) 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเราล้วนมีความสวยงามและมีความน่าสนใจ

ในการสร้างสรรค์ผลงาน ถ้าเราใช้ความคิดบวกกับจินตนาการสร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงจากสิ่งที่เห็นจะทาให้เราสร้างสรรค์ผลงาน ออกมาได้อย่างเต็มที่ และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง 9. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- นักเรียนจะนาผลงานการปั้นนูนสูงของตนเองไปใช้ประโยชน์อะไร

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน

2.

กระดาน

3.

เครื่องมือปั้นปลายแหลม

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน

ระดับคะแนน ๔







คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

เกณฑ์การให้คะแนน ๔



ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด





ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

ภาระงานที่กาหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 30 การปั้นลอยตัว : การปั้นรูปผลไม้

9

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

1

ชั่วโมง

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น 3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอนในการปั้นลอยตัวรูปผลไม้ (K) 2. สร้างสรรค์งานปั้นลอยตัวรูปผลไม้ (P) 3. ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

การปั้นลอยตัวเป็นการปั้นทีส่ นุกมาก เพราะเราปั้นทุกสิ่งที่มองเห็นและสัมผัสได้รอบด้าน ลอยตัวมี 2 แบบ คือ แบบมีโครงและแบบไม่มโี ครง 5.

การปั้น

สาระการเรียนรู้ ความรู้ 1.การปั้นลอยตัว 2.การปั้นรูปผลไม้

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นนูนสูงตามความคิดและจินตนาการ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัด ประเมินผล

วิธีการวัดผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/ คาถาม

บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอนในการ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ปั้นลอยตัวรูปผลไม้

ด้านทักษะกระบวนการ -แบบประเมินชิ้นงาน/ ( P) ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นลอยตัวรูปผลไม้

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผูอ้ ื่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

–แบบสังเกตพฤติกรรม/

คาถาม 10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา(10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องประเภทของการปั้น โดยครูใช้คาถามดังนี้

- การปั้นมีกี่ประเภท อะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ มี 3 ประเภท การปั้นนูนต่า การปั้นนูนสูง การปั้นลอยตัว) 2. ให้ตัวแทนนักเรียนออกมาทบทวนความรู้โดยการอธิบายวิธีการปัน ้ นูนต่า และวิธีการปั้นนูนสูง

ขั้นสอน(40 นาที) 3. ครูนารูปปั้นผลไม้ต่างๆ มาให้นกั เรียนดู จากนั้นร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- รูปปั้นที่นักเรียนเห็นเป็นรูปอะไร (ผลไม้) - นักเรียนเคยปั้นรูปผลไม้หรือไม่ (เคย / ไม่เคย) - นักเรียนที่เคยปั้นรูปผลไม้ เคยปั้นเป็นผลไม้อะไร และมีขั้นตอนในการปั้นอย่างไร (นักเรียนตอบตาม ประสบการณ์) - ในการปั้นรูปผลไม้ของนักเรียน ใช้วัสดุอะไรในการปั้น (คาตอบ ดินเหนียวหรือดินน้ามัน) 4. ให้นักเรียนที่เคยมีประสบการณ์ในการปั้นรูปผลไม้ออกมาอธิบายวิธีการปั้นให้เพื่อนๆ ฟัง 5. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังเพิ่มเติมว่า

การปั้นรูปผลไม้ คือ การปัน้ ดินเหนียวหรือดินน้ามันเป็นก้อนกลม แล้วใช้มือ จัดแต่งรูปทรงให้เป็นผลไม้ต่างๆ ตามที่ร่างบนกระดาษหรือตามที่คิดไว้ เสร็จแล้วนามาจัดวางบนกระดานรองปั้น และตกแต่งผิว ของงานปั้นให้ดูสวยงาม 6. ให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการปั้น 7. นักเรียนร่างแบบผลไม้ลงบนกระดาษ

เพิ่มเติม

จากนั้นลงมือปั้นรูปผลไม้ตามแบบที่ร่างไว้ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนา

8. เมื่อสร้างสรรค์ผลงานปั้นรูปผลไม้เสร็จ นักเรียนนาผลงานของตนเองมาให้ครูและเพื่อนร่วมติชม 9. ให้นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย และล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม 10. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปั้นรูปผลไม้ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- เมื่อนักเรียนได้สร้างสรรค์ผลงานปั้นรูปผลไม้แล้ว รูส้ ึกอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ สนุกเพลิดเพลิน ภูมิใจกับ ผลงานของตนเอง) - การปั้นรูปผลไม้จัดอยู่ในงานปั้นประเภทใด (ตัวอย่างคาตอบ ประเภทลอยตัว) - การปั้นลอยตัวมีลักษณะอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ มองเห็นและสัมผัสได้รอบด้าน) - นักเรียนรู้หรือไม่ว่าการปั้นลอยตัวมีกี่แบบ (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) ครูอธิบายเกี่ยวกับงานปั้นลอยตัวว่า การปั้นลอยตัวเป็นการปั้นทีส่ นุกมาก เพราะเราปั้นทุกสิ่งให้มองเห็นและสัมผัสได้ รอบด้าน การปั้นลอยตัว มี 2 แบบ 1. แบบมีโครง เช่น ใช้ลวดเป็นโครงและพันด้วยเศษผ้าเพื่อเป็นตัวยึดเกาะดิน เหมาะกับการปั้นรูปลอยตัวที่มี

ความสูง เช่น รูปคน หรือสัตว์ที่มแี ขนขายื่นออกมา 2. แบบไม่มีโครง เช่น การปั้นรูปต่างๆ ทั่วไปที่ไม่ต้องใช้สิ่งใดเป็นโครงอยู่ภายใน

ขั้นสรุป(10 นาที) 11. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การปั้นรูปผลไม้ คือ การปั้นดินเหนียวหรือดินน้ามันเป็นก้อนกลม แล้วใช้มือ

จัดแต่งรูปทรงให้เป็นผลไม้ต่างๆ ตามที่ร่างบนกระดาษหรือตามที่คิดไว้ 12.

ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้ - การปั้นรูปผลไม้จัดเป็นการปั้นลอยตัวแบบใด

11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน

2.

กระดาน

3.

เครื่องมือปั้นปลายแหลม

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ

ระดับคะแนน

รายการประเมิน









คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







คุณภาพ ผลงาน

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป ๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ศ 13101 3 สนุกกับงานปัน ้

วิชาทัศนศิลป์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลาเรียน

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 31 การปั้นลอยตัว : การปั้นของเล่น

9

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ชั่วโมง เวลาเรียน

******************************************************************************************************* 1.มาตรฐานการเรียนรู้

1

ชั่วโมง

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คณ ุ ค่างาน ทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด

มฐ.ศ 1.1 ป. 3/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น 3.

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอนในการปั้นลอยตัวเป็นของเล่น (K) 2. สร้างสรรค์งานปั้นลอยตัวเป็นของเล่น (P) 3. ชื่นชมผลงานปั้นของตนเองและผู้อื่น (A)

4.

สาระสาคัญ

การปั้นลอยตัว เป็นการปั้นทีส่ นุกมาก เพราะเราปั้นทุกสิ่งที่มองเห็นและสัมผัสได้รอบด้าน ลอยตัว มี 2 แบบ คือ แบบมีโครงสร้าง และแบบไม่มีโครงสร้าง 5.

การปั้น

สาระการเรียนรู้ ความรู้ การปั้นของเล่นด้วยดินเหนียว

6.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด 7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน

สร้างสรรค์งานปั้นของเล่นตามความคิดและจินตนาการ 9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์

เครื่องมือการวัดประเมินผล

วิธีการวัดผล ประเมินผล

เกณฑ์การวัด/ประเมินผล

ด้านความรู้ (K)

แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

บอกวัสดุอุปกรณ์ และขั้นตอน ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป ในการปั้นลอยตัวเป็นของเล่น

ด้านทักษะกระบวนการ(P)

-แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ งาน

สร้างสรรค์งานปั้นลอยตัวเป็น ของเล่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

ด้านพฤติกรรม(A)

–แบบสังเกตพฤติกรรม/คาถาม

ชื่นชมผลงานปั้นของตนเอง และผู้อื่น

ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 2 ขึ้นไป

10.

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา(10 นาที) 1. นักเรียนทบทวนความรู้การปั้นรูปผลไม้ โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- การปั้นรูปผลไม้ต่างๆ ในชั่วโมงที่แล้ว นักเรียนใช้วัสดุอะไรในการปั้น (คาตอบ ดินน้ามัน) - การปั้นรูปผลไม้จัดเป็นการปั้นประเภทใด (ประเภทลอยตัว) - การปั้นลอยตัวมีกี่แบบ อะไรบ้าง ( 2 แบบ แบบมีโครง กับแบบไม่มีโครง) - การปั้นรูปผลไม้จัดเป็นการปั้นลอยตัวแบบใด (ตัวอย่างคาตอบ แบบไม่มีโครง) - นอกจากการปั้นรูปผลไม้แล้ว นักเรียนเคยปั้นดินเหนียวหรือดินน้ามัน เป็นของเล่นต่างๆ หรือไม่ (ตัวอย่าง คาตอบ เคย / ไม่เคย) - นักเรียนที่เคยปั้นของเล่นต่างๆ เคยปั้นเป็นของเล่นอะไร มีวิธีการปั้นอย่างไร และใช้วัสดุอะไรในการปั้น (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) ขั้นสอน(40 นาที) 2. ให้ตัวแทนนักเรียนออกมาเล่าอธิบายประสบการณ์ในการปั้นของเล่น เช่น เคยปั้นของเล่นเป็นอะไร ใช้วัสดุอะไรในการ

ปั้น และมีวิธีการปั้นอย่างไร 3. ครูนาของเล่นที่ปั้นจากดินเหนียว เช่น สัตว์ต่างๆ หรืออุปกรณ์งานครัวอย่างง่าย มาให้นักเรียนดู จากนั้นร่วมกันแสดง

ความคิดเห็น โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ - รูปปั้นที่นักเรียนเห็นเป็นรูปอะไร (คาตอบ สัตว์ต่างๆ หม้อของเล่น ถ้วยชามของเล่น) - นักเรียนเคยปั้นของเล่นต่างๆ เหล่านี้หรือไม่ (เคย / ไม่เคย)

- ในการปั้นของเล่นของนักเรียน ใช้วัสดุอะไรในการปั้น (ตัวอย่างคาตอบ ดินเหนียว) - นอกจากของเล่นตัวอย่างที่ครูนามาให้ดูแล้ว นักเรียนเคยปั้นของเล่นอะไรอีกบ้าง (นักเรียนตอบตาม ประสบการณ์) - วัสดุ อุปกรณ์ที่นักเรียนเคยใช้ในการปั้นของเล่น มีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) 4. นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น ดินเหนียว ถังใส่น้า กระดาน ไม้คลึง และมีดตัดต่างๆ 5. ครูให้คาแนะนาเกีย่ วกับขั้นตอนการปั้นของเล่นด้วยดินเหนียวว่า

ขั้นแรกต้องนวดดินเหนียวให้นุ่ม แล้วออกแบบสิ่ง

ที่เราจะปั้น โดยคิดหรือวาดไว้เป็นต้นแบบ จากนั้นลงมือปั้นตามที่ออกแบบไว้ 6. นักเรียนคิดและจินตนาการของเล่นที่ตนเองอยากปั้น แล้วร่างแบบลงบนกระดาษ จากนั้นปั้นเป็น

ของเล่นตามแบบที่

ร่างไว้ ครูคอยให้กาลังใจและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 7. เมื่อสร้างสรรค์ผลงานปั้นของเล่นเสร็จ

นักเรียนนาผลงานของตนเองมาให้ครูและเพื่อนร่วมกันติชม

8. ให้นักเรียนเก็บวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อยและล้างมือให้สะอาด ครูสังเกตพฤติกรรม 9. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปั้นของเล่นด้วยดินเหนียว โดยครูใช้คาถาม ดังนี้

- เมื่อนักเรียนได้สร้างสรรค์ผลงานปั้นของเล่นด้วยดินเหนียวแล้ว รูส้ ึกอย่างไร คาตอบ สนุกเพลิดเพลิน ภูมิใจกับผลงานของตนเอง)

(ตัวอย่าง

- การปั้นรูปของเล่นด้วยดินเหนียวจัดอยู่ในงานปั้นประเภทใด (คาตอบ ประเภทลอยตัว) - การปั้นของเล่นด้วยดินเหนียวมีประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ไม่ต้องเสียเงิน ของเล่น เกิดความภูมิใจในผลงานของตนเอง สามารถนามาเป็นของขวัญให้เพื่อนได้)

ซื้อ

- การใช้ดินเหนียวปั้นของเล่น มีขอ้ ดีกว่าการใช้ดินน้ามันอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์) ครูให้ข้อสังเกตเพิม่ เติมว่า การปั้นดินเหนียวเป็นของเล่นนั้น เราอาจใช้ดินน้ามันปั้นแทนก็ได้ แต่การปัน้ ด้วยดินเหนียวจะ เก็บได้นานกว่า และยังนามาระบายสีสวยๆ ได้ ปั้นแล้วสนุก ไม่ต้องซื้อของเล่น ถ้าทาได้สวยจะมอบให้เป็นของขวัญกับเพื่อนก็ได้ การปั้นของเล่นต้องใช้ความคิด ความจาและฝีมือ ซึ่งของเล่นอาจเป็นรูปคน สัตว์ สิ่งของ ดอกไม้ ผลไม้ ฯลฯ บางท้องถิ่นมีการนา ดินเหนียวมาปั้นเป็นตุ๊กตาน่ารัก เมื่อนาไปขายก็เป็น การสร้างรายได้ในท้องถิ่น ขั้นสรุป(10 นาที) 10. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้

ดังนี้ การปั้นดินเหนียวเป็นของเล่น จะเก็บได้นานกว่า การใช้ ดินน้ามัน และยังสามารถนามาระบายสีสวยๆ ได้ ปั้นแล้วสนุก ไม่ต้องซื้อของเล่น ถ้าทาได้สวยสามารถมอบเป็นของขวัญให้แก่ ใครก็ได้ การปั้นของเล่นต้องใช้ความคิด ความจาและฝีมือ

11. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้

- นักเรียนคิดว่าผลงานของตนเองมีความโดดเด่นในเรื่องใด 11. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ 1.

ดินน้ามัน

2.

กระดาน

3.

เครื่องมือปั้นปลายแหลม

แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

คาชี้แจง ให้ทาเครื่องหมาย  ลงในช่องรายการประเมินทีเ่ กิดคุณลักษณะ รายการประเมิน คุณภาพผลงานตามภาระงานที่กาหนด การจัดองค์ประกอบศิลป์ เอกภาพ สมดุล จุดเด่น

ระดับคะแนน ๔







ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ คุณลักษณะ วินัย ความตั้งใจ ระเบียบ ตรงต่อเวลา กระบวนการทางานเดี่ยว/กลุ่ม หน้าที่ความรับผิดชอบ รวม.................................คะแนน

ระดับคุณภาพ.............................

เกณฑ์การประเมิน คะแนน คะแนน คะแนน

๑๗-๒๐ ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๖ ระดับคุณภาพ ๑๐-๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้

คะแนน

๑-๙

ระดับคุณภาพ

ดีมาก ดี

ควร เกณฑ์การประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน ด้านทักษะการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

รายการ ประเมิน คุณภาพ ผลงาน

การจัด องค์ประกอบ ศิลป์

เกณฑ์การให้คะแนน ๔







ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ สื่อความหมายตรงตาม สื่อความหมายตรงตาม ภาระงานที่กาหนด ภาระงานทีก่ าหนด เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

ผลงานเสร็จสมบูรณ์ แต่ ผลงานไม่เสร็จและไม่สื่อ สื่อความหมายตามภาระ ความหมายตามภาระ งานที่กาหนดไม่ชัดเจน งานที่กาหนด

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพมีครบ

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบ มาใช้ เหมาะสม กลมกลืน หลักการจัดภาพขาดไป

มีการนาองค์ประกอบ ของการออกแบบมาใช้ แต่ยังขาดความ เหมาะสม กลมกลืน

ทั้ง ๓ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

๒ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

๑ ข้อได้แก่ ๑. เอกภาพ ๒. ความสมดุล ๓. จุดเด่น

ความคิด สร้างสรรค์

ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง สามารถเป็นแบบอย่าง ของกลุ่ม

ผลงาน แปลกใหม่ เกิดจากความคิดของ ตนเอง/กลุม่ ตนเอง

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น บางส่วน

ผลงานลอกเลียนแบบ จากความคิดผู้อื่น/กลุ่ม อื่น เป็นส่วนมาก

คุณลักษณะ

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ตรงต่อเวลา

มีวินัย ตั้งใจ ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย

มีวินัย ตั้งใจ

มีวินัย

กระบวนการ ทางานเดี่ยว/ กลุ่ม

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัติได้ตามแผน

มีการวางแผน/ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

มีการวางแผน แต่การ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ขาดความชัดเจน

ไม่มีการวางแผน/ไม่มี การแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

5

¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹

¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹

¼ Å § Ò ¹ ¹ ¡ Ñ à Ã Â Õ ¹

6

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด (ปสุวณโณ) ประจาปีการศึกษา 2563

ผู้วิจัย นายภาณุ หอมทั่ว

รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา รายวิชา 1005811 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 2 (Internship-Externship 2) หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ชื่อเรื่อง

: การพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ปสุวณโณ) ประจาปีการศึกษา 2563

ชื่อผู้วิจัย : นายภาณุ หอมทั่ว อาจารย์ที่ปรึกษา : 1. รศ.ดร. เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว 2. นาย สรรธกฤต ใสสดศรี หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา ระยะเวลา เดือนมกราคม – มีนาคม 2564 จานวนหน้า : 52 หน้า

รหัสประจาตัวนักศึกษา 5911011030015 (อาจารย์นิเทศก์) (ครูพี่เลี้ยง)

บทคัดย่อ งานวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การพัฒนาทักษะการวาดเส้น โดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาทักษะการวาด เส้น โดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด กลุ่ม ตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชวินิต จาวนวน 10 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย (Simple random sampling) ตัวแปรต้น ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ตัวแปรตาม การ พัฒนาทักษะ รูปแบบการทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนหลัง (One group pretest-posttest design) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินสาหรับชุดแบบฝึกเสริมทักษะ แบบประเมินสาหรับคู่มือชุดแบบ ฝึกเสริมทักษะ แบบประเมินสาหรับแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินเกณฑ์การประเมินให้คะแนนทักษะ แบบประเมินสาหรับใบงานทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ผลการวิจัยพบว่าการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะการการวาดเส้นพื้นฐานของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะหลังการเรียนจากชุดแบบ ฝึกเสริมทักษะการการวาดเส้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาการทาใบงานเฉลี่ย (X̅) สูงขึ้นเท่ากับ 8.50 คะแนน มีคะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ย (D) เท่ากับ 5.70 มีค่า t เท่ากับ 14.00 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงว่าการใช้จากชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดภาพระบายสีด้วยการใช้ น้าหนักแสงเงาตามวงจรสีทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะการวาดภาพระบายสีสูงขึ้น ลายมือชื่อนักศึกษา...................................................................... ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 1.........................................................................อาจารย์นิเทศก์ 2..........................................................................ครูพี่เลี้ยง



กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ รศ.ดร. เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว อาจารย์นิเทศก์ นาย สรรธกฤต ใสสดศรี ครู พี่เลี้ย ง ผศ.วุฒ ิน ัน ท์ รัตสุข ผู้ช ่ว ยศาสตราจารย์ประจ าสาขาวิชาศิล ปศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตอาจารย์ฆณา วีระเดชะ อาจารย์ประจาสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุษย์ ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และนายสรรธกฤต ใสสดศรี คุณครูประจ าวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์) ระดับประถมศึกษา โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) ที่ช่วยให้คาปรึกษาในระหว่างการทาวิจัย ในชั้นเรียน ขอบคุณโรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) ที่ให้ความอนุเคราะห์ส ถานที่ และประชากรในการ ดาเนินการวิจัย ขอบคุณงานศึกษาทุกชิ้นที่ช่วยวางรากฐานความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยในชั้นเรียน นี้

ผูว้ ิจัย นายภาณุ หอมทั่ว



สารบัญ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง

หน้า ก ข ค ง

บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ กรอบแนวคิดการวิจัย

1 2 2 2 2 3 3

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการวาดเส้น 2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึก 3. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของธอร์นไดค์ 4. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

4 4 6 10

บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบบแผนการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ขั้นตอนการดาเนินงานวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

14 14 14 14 17 17 18 19

11 13



สารบัญ (ต่อ)

หน้า

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

21

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปราย และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ

23 23 25 25

บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายนามผู้เชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ภาคผนวก ค ภาพถ่ายการดาเนินวิจัย ประวัติผู้วิจัย

27 28 29 30 49 52



สารบัญตาราง ตารางที่ 2.1 ตัวชี้วัดวิชาศิลปะชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐาน ศ 1.1 2.2 ตัวชี้วัดวิชาศิลปะชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐาน ศ 1.2 4.1 เปรียบเทียบผลคะแนนใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนของนักเรียน เรื่องการ วาดเส้น 4.2 ผลความก้าวหน้าทางการเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น

หน้า 12 12 21 22

1

บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่ม สาระที่ช ่ว ยพัฒนาให้ผ ู้เรีย นมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิล ปะ ชื่นชมความงาม มี สุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ ทั้งนี้หลักสูตรได้ กาหนดให้ผู้เรียนได้เรียนศิลปะ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 สาระ คือ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ สาระที่ 2 ดนตรี สาระที่ 3 นาฏศิลป์ โดยสาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 ตัวชี้วัดข้อที่ 6 วาดภาพถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก จากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้ เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2551, หน้า 1) รายวิชาทัศนศิลป์มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความ ซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระ รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพื้นฐานในการใช้ วัสดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุล น้าหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสม ในการสร้างงานทัศนศิลป์ 2 มิติ 3 มิติ เช่น งานสื่อผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั้น งานพิมพ์ภาพ รวมทั้ง สามารถสร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอดความคิดจินตนาการเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ เหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่แตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ หลักการลดและเพิ่มในงานปั้น การสื่อความหมายในงาน ทัศนศิลป์ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น ตลอดจนรู้และเข้าใจคุณค่าของ งานทัศนศิลป์ที่มีผล ต่อชีวิตของคนในสังคม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จากการที่ได้จัดการเรียนการสอนในหน่วยการเรียนรู้เรื่อง การวาดเส้นขั้นพื้นฐาน ผู้วิจัยได้เห็นว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถวาดเส้นได้พิ้นฐานได้ตรง บางคนยังวาดไม่ได้ บางคนยังต้องมีการใช้ไม้บรรทัด มาช่วย บางคนวาดเส้นพิ้นฐานได้แค่บางเส้นเท่านั้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นว่าชุดแบบฝึกเป็นเครื่องมือที่เหมาะสมที่จะสามารถเสริม ประสิทธิภาพการเรียนรู้วิชาศิลปะ และทักษะการวาดเส้นได้เป็นอย่างดี เพราะช่วยให้นักเรียนได้ฝึกฝนการ วาดเส้นอย่างเป็นลาดับขั้นตอนที่เหมาะสมและต่อเนื่อง จึงได้นาชุดแบบฝึกเสริมทักษะเรื่องการ วาดเส้น

2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) ซึ่งมี เนื้อหาที่ประกอบด้วย ทฤษฎีการวาดเส้น ทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ขั้นตอนการวาดเส้น ภาพ ตัวอย่าง แบบฝึกปฏิบัติ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนทักษะในการวาดเส้นไห้ได้ดียิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะการวาดเส้น โดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ)

ขอบเขตกำรวิจัย 1.ขอบเขตเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวาดเส้น แนวคิดทฤษฎีการ เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ 2. ขอบเขตประชากร นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิชาทัศนศิลป์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 10 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) 3.ขอบเขตตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย ตัวแปรต้น ได้แก่ ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ตัวแปรตาม ได้แก่ การพัฒนาทักษะ

นิยำมศัพท์เฉพำะ เส้น (Line)เกิดจากจุดที่เรียงต่อกัน หรือเกิดจากการลากเส้นไปยังทิศทางต่างๆ มีหลายลักษณะ เช่น ตั้ง นอน เฉียง โค้ง ฯลฯ เส้น เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้านาจุดมาวางเรียงต่อๆ กันก็จะเกิดเป็น เส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขตของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง สี น้าหนัก รวมทั้งเป็นแกนหลักโครงสร้างของรูปร่างรูปทรงต่างๆ เส้นเป็นพื้นฐานที่สาคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดงความรุ้สึกและ อารมณ์ด้วย การสร้างเป็นรูปทรงต่างๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง ( Straight Line ) และ เส้นโค้ง ( Curve Line ) เส้นทั้งสองชนิดนี้เมื่อน ามาจัดวางในลักษณะต่างๆ กันและให้ความหมาย ความรุ้สึก ที่ แตกต่างกันออกไปด้วย ลักษณะของเส้น เส้นมีจุดเด่นที่นามาใช้ได้หลากหลายรูปแบบ ทาให้เกิดรูปร่างรูปทรงต่างๆ มากมายเพื่อ ต้องการสิ่อให้เกิดความรุ้สึกทางด้านอารมณ์ จากการสร้างสรรค์ของงาน

3

กำรวำดเส้น เป็นพื้นฐานของงานทัศนศิลป์และการออกแบบ โดยการสร้างภาพสองมิติโดยวิธีที่ง่ายและรวดเร็ว ให้เกิดร่องรอยต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือที่อยู่ใกล้ตัว เช่น ถ่าน เศษไม้ หรือแม้แต่นิ้วมือของตนเอง แต่ใน ปั จ จุ บ ั น นิ ย มใช้ ดิ น สอปากกาและหมึ ก เครยอง ดิ น สอสี ดิ น สอถ่ า น ชอล์ ก ชอล์ ก สี ปากกามาร์ ก เกอร์ ปากกาหมึกซึม ซึ่งโดยมากจะเขียนลงบนกระดาษหรือวัสดุอื่นอย่าง กระดาษแข็ง พลาสติกหนังผ้า กระดาน สาหรับการเขียนชั่วคราวอาจใช้กระดานดาหรือกระดานขาวหรือบนอะไรก็ได้ แบบฝึ ก เสริ ม ทั ก ษะ หมายถึ ง งานหรื อ กิ จ กรรมที ่ ค รู ส ร้ า งขึ ้ น โดยมี ร ู ป แบบกิ จ กรรมที่ หลากหลาย มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึกให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น และช่วยฝึกทักษะต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง อาจจะให้นักเรียนทาแบบฝึกขณะเรียนหรือหลังจากจบบทเรียนไป แล้วก็ได้

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 10 คน โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) มีทักษะการระบายสี โปสเตอร์โดยช้หลักการของแสงเงาได้ดีขึ้น

กรอบแนวคิดกำรวิจัย ตัวแปรต้น(ตัวแปรอิสระ)

ชุดแบบฝึ กเสริมทักษะการวาดเส้ น

ตัวแปรตาม

การพัฒนาทักษะ

4

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการดาเนินวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นว้าข้อมูลรายละเอียดจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ 1. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการระบายสีโปสเตอร์โดยใช้หลักการของแสงเงา 1.1 เทคนิคการวาดเส้น(Drawing) 1.2 ทักษะการเขียนภาพ 2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึก 2.1 ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะ 2.2 ลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะ 2.3 หลักการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ 2.4 ประโยชน์ของแบบฝึกเสริมทักษะ 3.รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของธอร์นไดค์ 4. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

1. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวาดเส้น 1.1 เทคนิคการวาดเส้น(Drawing) การวาดเส้น การวาดเส้น เป็นการที่มนุษย์ใช้มือจับ วัสดุ หรือ เครื่องเขียนชนิดต่างๆ เขียน ลาก ขูด ขีด ลงบนกระดาษ หรือ บนพื้นระนาบ เพื่อให้เกิดรูปร่างตามที่ต้องการ และ สร้างความเข้าใจระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือ เพื่อ บอกกล่าว เสนอแนะ ให้ผู้พบเห็นได้คิด ได้ชื่นชม ได้รับรู้ตามวัตถุประสงค์ การวาดเส้นเป็นผลมาจากควาน เข้าใจ และ รู้จักถ่ายทอดที่ฉลาดของมนุษย์โดยมีสมองสั่งการ ซึ่งมีมือทาหน้าที่วาด ด้วยวิธีการ และ เทคนิค ต่างๆ ออกเป็นรูปภาพ และ ช่วยสื่อความหมาย ดังนั้นการวาดเส้นที่จะได้ผลงานที่ดี ต้องได้รับการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะฝีมือ และ มีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับหลักการ องค์ประกอบต่าง ๆ รวมถึง วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ในงานวาดเส้น

5

เครื่องมือในการวาดเส้น ดินสอ เป็นเครื่องมือหลัก หรือ เป็นเครื่องมือพื้นฐานของการฝึกที่จะ ได้ผลดีในระยะ เริ่มต้นในการจับเพื่อการวาดเส้น จะมีข้อแตกต่างจากการจับเพื่อการเขียนหนังสื่อ เพราะใน บางเส้นอาจจะต้องออกแรงกด เพื่อการเน้นน้าหนักของภาพ หรือ ยกเบาให้เกิดน้าหนักอ่อน เทคนิคพื้นฐานของการวาดเส้นให้ได้ขนาดต่าง ๆ โดยการวางตาแหน่งของปลายดินสอ บนพื้นกระดาษ ใน ลักษณะของการจับดินสอเอียง หรือ เฉียง จะเกิดความแตกต่างของขนาดเส้นที่ได้ ถ้าจับวาดในแนวดิ่งจะได้ เส้นเล็ก ถ้าเอียงมุมลง เส้นจะโตขึ้น หรือถ้าต้องการให้ได้พื้นที่มากแบบระบาย ก็จับดินสอให้เอียงมากขึ้น -ขั้นขีดเขียน (Schematic Stage) (7-9 ปี) เป็นขั้นที่ขีดเขียนให้คล้ายของจริง และความเป็นจริงจะ พิจารณาได้ตามลาดับดังนี้ ก. คน รูปที่ออกมาจะแสดงพอเป็นสัญลักษณ์ ถ้าวาดรูปคนเราอาจไม่รู้ว่าเป็นคนรูปคน และ ภาพที่ออกมาเป็นรูปทรงเรขาคณิต เช่น ส่วนใดที่เด็กเห็นว่าสาคัญ น่าสนใจก็จะวาดส่วนใหญ่เป็น พิเศษ ส่วนไหนที่ไม่สาคัญอาจตัดทิ้งไปเลย ฉะนั้นเราจะเห็นเด็กวัยนี้วาดภาพส่วนต่างๆ ขาด หายไป เช่น ลาตัว ขา เท้า ฯลฯ ซึ่งไม่ใช่เรื่องประหลาดอะไรเลย บางทีอาจเป็นเด็กหัวโต ตาโต แขนโต ฯลฯ แล้วแต่เด็กจะให้ความสาคัญอะไรและบางที่ในรูปหนึ่งจะย้าหลายๆ อย่าง(ซ้ากัน) ในภาพ ข.การใช้สี ส่วนมากใช้สีตรงกับความจริง แต่มักใช้สีเดียวตลอด เช่น พระอาทิตย์ต้องสีแดง ตลอด ท้องฟ้าต้องสีฟ้าตลอด ประสบการณ์ของเด็กจะทาให้ใช้สีได้ถูกต้อง และตรงกับความเป็นจริง ขึ้น ถ้าใบไม้สดต้องสีเขียว ถ้าใบไม้แห้งต้องสีน้าตาล เป็นต้น ค.ช่องวาง (Space) มีการใช้เส้นฐาน (based line) แล้วเขียนทุกอย่างสัมพันธ์กันบนเส้น ฐาน เช่น วาดรูป คน สุนัข ต้นไม้ บ้าน อยู่บนเส้นเดียวกัน ภาพที่ออกมาจะเป็นแบบลาดับ เหตุการณ์ ส่วนสูง ขนาด ยังไม่มีความสัมพันธ์กัน เช่น ดวงอาทิตย์ อยู่บนขอบของกระดาษ รูปคนก็ อาจสูงถึงใกล้ขอบกระดาษ เป็นต้น ง.งานออกแบบ ไม่ค่อยดี มักจะเขียนตามลักษณะที่ตนพอใจ -ขั้นวาดภาพของจริง (The Drawing Realism) (9-11 ปี) เป็นขั้นเริ่มต้นการขีดเขียนอย่างของจริงเนื่องจากระยะนี้ตามหลักจิตวิทยาพัฒนาการ เด็กเริ่ม รวมกลุ่มกัน โดยแยกชาย หญิง เด็กผู้ชาย ชอบผาดโผน เดินทางไกล เด็กผู้หญิงสนใจเครื่องแต่งตัวเพื่อ แต่งตัวงานรื่นเริง ฉะนั้นการขีดเขียนจะแสดงออกในทานองต่อไปนี้คือ ก.คน จะเน้นเรื่องเพศด้วยเครื่องแต่งตัว แต่กระด้าง ๆ ข.สี ใช้ตามความเป็นจริง แต่อาจเพิ่มความรู้สึก เช่น บ้านคนจนอาจใช้สีมัว ๆ บ้านคนรวยอาจ ใช้สีสดๆ มีชีวิตชีวา ค.ช่องว่าง ทุกอย่างในช่องว่างเหลื่อมล้ากันได้ เช่น ต้นไม้บังฟ้าได้ วาดฟ้าคลุมไปถึงดิน เส้นระดับ (Based Line) ค่อยๆ หายไป รูปผู้หญิงมักเน้นลวดลาย เครื่องแต่งกายมีดอกดวง รูปผู้ชายก็ต้อง

6

เป็นรูปคาวบอย การจัดวัตถุให้สัมพันธ์กันเป็นเรื่องสาคัญมากในระยะนี้ เพราะเป็นระยะแรกของการ พัฒนาการทางการรับรู้ทางสายตา ซึ่งจะนาไปสู่การวาดภาพสามมิติได้อีกต่อหนึ่ง ง.การออกแบบ ประสบการณ์ของเด็กจะทาให้การออกแบบดีขึ้น เป็นธรรมชาติขึ้นรู้จักการวาง หน้าที่ของวัตถุต่างๆ ดุสิดา เหลือจันทร์ (2546,หน้า34) กล่าวว่า การเขียนภาพรระบายสี ที่เป็นพื้นฐานของการขีดเขียน เพื่อถ่ายทอดการเรียนรู้ออกมาเป็นรูปธรรมได้ดีที่สุด ดังนั้นการเขียนภาพระบายสีจึงเป็นสิ่งที่สะท้อนการ เรียนรู้ได้เป็นอย่างดีเช่นกัน

2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึก 2.1 ความหมายแบบฝึกเสริมทักษะ แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ครูสร้างขึ้น โดยมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มี จุดมุ่งหมายเพื่อฝึกให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น และช่วยฝึกทักษะต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้อย่างแท้จริง อาจจะให้นักเรียนทาแบบฝึกขณะเรียนหรือหลังจากจบบทเรียนไปแล้วก็ได้ 2.2 ลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักในการสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของแบบฝึก เสริมทักษะด้วย ซึ่งมีผู้รู้ได้เสนอแนะไว้ดังนี้ นิตยา ฤทธิ์โยธี (2520 : 1) ได้กล่าวถึงลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ว่า แบบฝึกเสริม ทักษะต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนมาแล้ว เหมาะสมกับระดับ วัย หรือความสามารถของเด็ก มีคาชี้แจงสั้น ๆ ที่ทาให้เด็กเข้าใจวิธีทาได้ง่าย ใช้เวลาเหมาะสมหรือใช้เวลาไม่นาน และเป็นสิ่งที่น่าสนใจและท้าทายให้ แสดงความสามารถ สามารถ มีศรี (2530 : 28) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีต้องเกี่ยวกับบทเรียนที่เรียนมาแล้ว เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีคาสั่งและคาอธิบาย มีคาแนะนาการใช้แบบฝึก เสริมทักษะ มีรูปแบบที่ น่าสนใจและมีกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ โรจนา แสงรุ่งระวี (2531 : 22) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีนอกจากมีคาอธิบายชัดเจนแล้ว ควรเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ใช้เวลาในการฝึกไม่นานเกินไปและมีหลายรูปแบบ ฉะนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดี ครูผู้สร้างจะต้องยึดหลักจิตวิทยา ใช้สานวนภาษาที่ ง่าย เหมาะสมกับวัย ความสามารถของผู้เรียน มีกิจกรรมหลากหลาย มีคาสั่ง คาอธิบาย และ คาแนะนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะที่ชัดเจนเข้าใจง่าย ใช้เวลาในการฝึกไม่นานและที่สาคัญมีความหมาย ต่อชีวิต เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้

7

2.3 หลักการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้มีประสิทธิภาพต้องมีหลักการสร้างที่สอดคล้องกับลักษณะที่ดีของ แบบฝึกเสริมทักษะด้วย ซึ่งในเรื่องนี้ได้มีผู้เสนอแนะไว้ดังนี้ วรนาถ พ่วงสุวรรณ (2518 : 34 – 37) ได้ให้หลักการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะไว้ดังนี้ 1. ตั้งจุดประสงค์ 2. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา 3. ขั้นต่าง ๆ ในการสร้าง 3.1 ศึกษาปัญหาในการเรียนการสอน 3.2 ศึกษาหลักจิตวิทยาของเด็กและจิตวิทยาการเรียนการสอน 3.3 ศึกษาเนื้อหาวิชา 3.4 ศึกษาลักษณะของแบบฝึกเสริมทักษะ 3.5 วางโครงเรื่องและกาหนดรูปแบบให้สัมพันธ์กับโครงเรื่อง 3.6 เลือกเนื้อหาต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาบรรจุในแบบฝึกเสริมทักษะให้ครบตามทีกาหนด เกสร รองเดช (2522 : 36 – 37) ได้เสนอแนะแนวทางในการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะดังนี้ 1. สร้างแบบฝึกเสริมทักษะให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน คือ ไม่ง่ายไม่ยากจนเกินไป 2. เรียงลาดับแบบฝึกเสริมทักษะจากง่ายไปหายาก โดยเริ่มจากการฝึกออกเสียงเป็น พยางค์ คา วลี ประโยค และคาประพันธ์ 3. แบบฝึกเสริมทักษะบางแบบควรใช้ภาพประกอบ เพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียน ซึ่งจะช่วยให้ นักเรียนประสบความสาเร็จในการฝึก และจะช่วยยั่วยุให้ติดตามต่อไปตามหลักของการจูงใจ 4. แบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ง่าย ๆ ใช้เวลาในการฝึกประมาณ 30 ถึง 45 นาที 5. เพื่อป้องกันความเบื่อหน่าย แบบฝึกต้องมีลักษณะต่าง ๆ เช่น ประสมคาจากภาพ เล่นกับบัตรภาพ เติม คาลงในช่องว่าง อ่านคาประพันธ์ ฝึกร้องเพลง และใช้เกมต่าง ๆ ประกอบ จากแนวคิดข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การสร้างแบบฝึกเสริมทักษะควรมีหลักในการสร้างดังนี้ 1. ต้องยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละวัย ต้องคานึงถึง ความสามารถ ความสนใจ แรงจูงใจของนักเรียน 2. ต้องตั้งจุดประสงค์ในการฝึกว่าต้องการฝึกเสริมทักษะใด เนื้อหาใด ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อะไร

8

3. แบบฝึกเสริมทักษะต้องไม่ยากไม่ง่ายจนเกินไป คานึงถึงความสามารถของเด็กและต้อง เรียงลาดับจากง่ายไปหายาก 4. ต้องศึกษาขั้นตอนต่าง ๆ ในการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ ปัญหาและข้อบกพร่องของนักเรียน 5. แบบฝึกเสริมทักษะต้องมีคาชี้แจง และควรมีตัวอย่างเพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจมากขึ้น และ สามารถทาได้ด้วยตนเอง 6. แบบฝึกเสริมทักษะควรมีหลายรูปแบบหลายลักษณะ เพื่อจูงใจในการทา ทาให้นักเรียนมี ความรู้สึกว่ามีจานวนไม่มาก 7. ควรมีรูปภาพประกอบที่สวยงามเหมาะสมกับวัยของเด็ก 8. ควรใช้ภาษาสั้น ๆ ง่าย ๆ ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาหรือคาสั่ง 9. ควรมีการทดลองใช้เพื่อหาข้อบกพร่องต่าง ๆ ก่อนนาไปใช้จริง 10.ควรจัดทาเป็นรูปเล่ม ซึ่งสามารถเก็บรักษาได้ง่าย นักเรียนสามารถนามาทบทวนก่อนสอบได้ 2.4 ประโยชน์แบบฝึก แบบฝึกเป็นสื่อที่ช่วยเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ให้กับ ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์ ตรงตามจุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ ตอบสนองต่อความต้องการและ ความสามารถของผู้เรียน ดังที่นักการศึกษาแต่ละท่านได้กล่าวไว้ดังนี้ บุญเกื้อ ควรหาเวช (2530 : 84) กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกการเขียนภาพระบายสีไว้ดังนี้ 1. ส่งเสริมการเรียนแบบรายบุคคล ผู้เรียนเรียนได้ตามความสามารถ ความสนใจตาม เวลาและ โอกาสที่เหมาะสมของแต่ละคน 2. ช่วยขจัดปัญหาการขาดแคลนครู เพราะแบบฝึกการเขียนภาพระบายสี ช่วยให้ผู้เรียน เรียนได้ ด้วยตนเอง หรือต้องการความช่วยเหลือจากครูผู้สอนเพียงเล็กน้อย 3. ช่วยในการศึกษานอกระบบโรงเรียน เพราะผู้เรียนสามารถนาเอาแบบฝึก การ เขียนภาพระบาย สีไปใช้ได้ทุกสถานที่และทุกเวลา 4. ช่วยลดภาระและช่วยสร้างความพร้อมและความมั่นใจให้แก่ครู เพราะแบบฝึกการ เขียนภาพ ระบายสี ผลิตเป็นหมวดหมู่สามารถนาไปใช้ได้ทันที 5. เป็นประโยชน์ในการสอนแบบศูนย์การเรียนรู้ 6. ช่วยให้ครูวัดผลได้ตรงตามจุดมุ่งหมาย 7. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ฝึกการตัดสินใจ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และมี ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 8. ช่วยให้ผู้เรียนจานวนมากได้รับความรู้แนวเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ

9

9. ช่วยฝึกให้ผู้เรียนรู้จักเคารพนับถือความคิดเห็นของผู้อื่น วรกิต วัดข้าวหอม (2534 อ้างถึงใน วารี เชียวสระคู 2538 : 76) ได้บอกถึงประโยชน์ ของแบบฝึก การวาดเส้นพิ้นฐาน 1. ทาให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียนนั้นยิ่งขึ้น เพราะแบบฝึกการสอนจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้มีส่วน ร่วมในการเรียนมากที่สุด 2. ผู้เรียนจะกระทากิจกรรมด้วยตนเอง และเรียนไปตามความสามารถตามความ ต้องการของ ตนเองได้ 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ฝึกการตัดสินใจ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และมี ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 4 ช่วยให้ผู้เรียนจานวนมากได้รับความรู้ในแนวเดียวกัน 5. ผู้เรียนได้รับความรู้อย่างอิสระจากอารมณ์เดียวกัน 6. ช่วยให้การเรียนเป็นอิสระต่อบุคลิกภาพของครูได้ 7. ครูสามารถวัดผลการเรียนได้ตามจุดหมาย 8. ช่วยลดภาระและสร้างความพร้อมและความมั่นใจแก่ครูผู้สอนเป็นอย่างดี 9. ช่วยขจัดปัญหาขาดแคนครูผู้สอนได้ 10. ช่วยส่งเสริมการเรียนแบบต่อเนื่องหรือการศึกษานอกระบบ เพราะแบบฝึกการสอน ด้วยตนเอง สามารถนาไปศึกษาได้ตลอดเวลา 11. ช่วยแก้ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน เรียนได้ตามความสามารถ ความถนัด และความตามเวลาและโอกาสเอื้ออานวยแก่ผู้เรียนที่แตกต่างกัน 12. ประโยชน์ต่อการจัดการสอนแบบทากิจกรรมกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพจาก การศึกษา ประโยชน์ของแบบฝึกการเรียนรู้จากนักการศึกษาสรุปได้ว่าแบบฝึกการเขียนภาพระบายสีมี ประโยชน์คือ ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น ช่วยให้นักเรียนกล้าแสดงออก และสามารถ เรียนได้ตาม ความสามารถและความถนัดสามารถแก้ปัญหาในกรณีที่ครูขาดหรือขาดแคลนผู้ชานาญ เฉพาะวิชาสามารถ ช่วยให้ผู้เรียนรับรู้ในแนวเดียวกัน ช่วยส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่มนอกจากนั้นยัง ช่วยลดภาวะและช่วยสร้าง ความพร้อมความมั่นใจแก่ครูช่วยให้ครูวัดและประเมินผล ได้ตรงตาม จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้และช่วยให้ครู สามารถถ่ายทอดเนื้อหาวิชาที่มีความสลับซับซ้อนได้ดี ส่วนประโยชน์ ที่ได้รับจากแบบฝึกการเรียนรู้ในครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งหวังให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์จากการ ปฏิบัติงานด้วยกิจกรรมที่หลากหลายและ การส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์จากกิจกรรมและสื่อต่างๆ

10

2.5 รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของธอร์นไดค์ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง กล่าวถึง การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยมีหลักพื้นฐานว่า การ เรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มักจะออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีและเหมาะสมที่สุด หลักการเรียนรู้ของทฤษฎีธอร์นไดค์ เขาได้เริ่มการทดลองเมื่อปี ค.ศ.1898 เกี่ยวกับการใช้หีบกล( Puzzie-box) เขาทดลองการเรียนรู้จนมี ชื่อเสียง การทดลองใช้หีบกล

การทดลอง ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นาแมวไปขังไว้ในกรงที่สร้างขึ้น แล้วนาปลาไปวางล่อไวนอกกรงให้ห่าง พอประมาณ โดยให้แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อ จะออกไปจากกรง จนกระทั่งเท้าของมันไปเหยียบถูกคานไม้โดยบังเอิญ ทาให้ประตูเปิดออก หลังจาก นั้น แมวก็ใช้เวลาในการเปิดกรงได้เร็วขึ้น จากการทดลอง ธอร์นไดค์อธิบายว่า การตอบสนองซึ่งแมวแสดง ออกมาเพื่อแก้ปัญหา เป็นการตอบสนองแบบลองผิดลองถูก การที่แมวสามารถเปิดกรงได้เร็วขึ้น ในช่วงหลัง แสดงว่า แมวเกิดการสร้างพันธะหรือตัวเชื่อมขึ้นระหว่างคานไม้กับการกดคานไม้ กฏแห่งการเรียนรู้ 1.กฎแห่งความพร้อม(law of readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย และจิตใจ 2.กฎแห่งการฝึกหัด (low of exercise) การฝึกหัดหรือกระทาบ่อยๆ ด้วยความเข้าใจจะทาให้การเรียนรู้นั้น คงถาวร ถ้าไม่ได้กระทาซ้าบ่อยๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงถาวร และในที่สุดอาจจะลืมได้ กฎการเรียนรู้ 3.กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (law of effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับ ผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้น การได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสาคัญในการเรียนรู้

การประยุกต์ทฤษฎีของธอร์นไดค์ 1.ธอร์นไดค์ในฐานะนักจิตวิทยาการศึกษา เข้าได้ให้ความสนใจในปัญหาการปรับปรุงการเรียนการ สอนของนักเรียนในโรงเรียน เขาเน้นว่า นักเรียนต้องให้ความสนใจในสิ่งที่เรียน ความสนใจจะเกิดขึ้นก็ ต่อเมื่อครูจัดเนื้อหาที่ผู้เรียนมองเห็นว่ามีความสาคัญต่อตัวเขา 2. ครูควรจะสอนเด็กเมื่อเด็กมีความพร้อมที่เรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะเรียนและไม่ ตกอยู่ในสภาวะบางอย่าง เช่น เหนื่อย ง่วงนอน เป็นต้น 3. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกฝนและทดทวนในสิ่งที่เรียนไปแล้วในเวลาอันเหมาะสม

11

4.ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้รับความพึ่งพอใจและประสบผลสาเร็จในการทากิจกรรมเพื่อเป็นแรงจูงใจ ต่อตัวเองในการทากิจกรรมต่อไป

3.หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น ประถมศึกษาปีที่3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิต มนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการ นาไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือ ประกอบอาชีพได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิด ความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วยสาระสาคัญ คือ ∙ ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จาก จินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ∙ ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับ ประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ในสาระทัศนศิลป์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้กาหนดมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ศิลปะ ไว้ดังนี้ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์

12

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตารางที่ 2.1 ตัวชี้วัดวิชาศิลปะชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐาน ศ 1.1 ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ แกนกลาง 1.บรรยารูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ บรรยายรูปร่างรูปทร ในธรรมชาติ 2.ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงาน เมื่อชมผลงานทัศนศิลป์ ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ 3.จาแนกทัศนธาตุของสิ่งต่างๆในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงาน จาแนกทัศนธาตุได้ ทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว 4.วาดภาพ ระบายสี สิ่งของรอบตัว วาดภาพ ระบายสี สิ่งของรอบตัว 5.มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น มีทักษะการใช้วัสดุ ป. อุปกรณ์งานปั้น 3 6.วาดภาพถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก จากเหตูการณ์ในชีวิตจริง โดยใช้ วาดภาพถ่ายทอด เส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว ความรู้สึก 7.บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเทคนิค บรรยายเหตุผลและ และวัสดุอุปกรณ์ วิธีการ 8.ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตนเอง ชื่นชมและสิ่งที่ ปรับปรุง 9.ระบุและจัดกลุ่มของภาพตามทัสนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์ ระบุและจัดกลุ่ม 10.บรรยายลักษณะ รูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบสิ่งต่างๆที่มีใน บรรยายลักษณะ บ้านและโรงเรียน มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งาน ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ตารางที่ 2.2 ตัวชี้วัดวิชาศิลปะชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐาน ศ 1.2 ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

13

ป. 3

1. เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น งานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น 2.อภิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และ วิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ใน อธิบายงานทัศนศิลป์ใน ท้องถิ่น ท้องถิน่

4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมบัติ สุทธิรอด (2556: บทคดัย่อ) ได้ทาการศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ทางการเรียน เรื่อง พระพุทธประวัติ รายวิชาพระพุทธศาสนา โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา พบว่าหลังจากการใช้ แบบฝึกเสริมทักษะของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มี ผลสัมฤทธิ์การเรียนต่า กว่าเกณฑ์ที่กาหนด มีผลสัมฤทธิ์การเรียนมากกว่า 60% ขึ้นไปของคะแนนเต็ม หลังจากการใช้แบบฝึกเสริมทกัษะ สุนิสา เกื้อหนุน (2556: บทคัดย่อ ) ได้ทา การศึกษาการพฒันาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคม ศึกษา (ส22106) เรื่อง ภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โดยใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียน พบว่า แบบฝึกทักษะทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา (ส22106) เรื่อง ภูมิศาสตร์ ของ นักเรียน ช้นั มัธยมศึกษา ปี ที่ 2/5 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 86.98/87.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ส22106) เรื่อง ภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่2/5 สูงขึ้นร้อยละ87.14 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80

14

บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยในชั้นเรียน มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการวาดเส้น โดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะการวาดเส้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) ผู้วิจัยดาเนินการ ตามขั้นตอน ดังนี้ -ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง -แบบแผนการวิจัย -เครื่องมือที่ใช้ -ขั้นตอนในการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล -สถิติที่ใช้ในการวิจัย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรียนวิชาทัศนศิลป์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 10 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling)

แบบแผนการวิจัย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียวมีการวัดก่อนและหลังการทา กิจกรรม (one group pretest posttest design) ดังนี้ สัญลักษณ์ในรูปแบบการทากิจกรรม X กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการวาดเส้น T1 การวัดผลก่อนการทากิจกรรมเรื่องการวาดเส้น T2 การวัดผลหลังการทากิจกรรมเรื่องการวาดเส้น

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 1. เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 1.1. ชุดแบบฝึกเสริมทักษะ (ภาคผนวก ค1)

15

- ใบความรู้ 1.2. คู่มือชุดแบบฝึกเสริมทักษะ (ภาคผนวก ค2) 1.3. แผนการจัดการเรียนรู้ (ภาคผนวก ค3) -แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การวาดเส้นตรง -แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การวาดเส้นตรงแนวนอน -แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การวาดเส้นตรงแนวเฉียง -แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การวาดเส้นขดหอย 1.4. เกณฑ์การประเมินทักษะการวาดเส้น (Rubric score) (ภาคผนวก ค4) 1.5. ใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนเรียน เรื่องการวาดเส้น (ภาคผนวก ค5) 2. การสร้างเครื่องมือ 2.1 ชุดแบบฝึกทักษะการวาดเส้นและใบความรู้ มีขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้ 2.1.1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสื่อการสอน หลักการ แนวคิด ทฤษฎี มาเป็นข้อมูลพื้นฐาน สาหรับการสร้างชุดแบบฝึกทักษะการวาดเส้นและใบความรู้โดยศึกษาจากตารา เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1.2 การสร้างชุดแบบฝึกทักษะการวาดเส้น โดยนาชุดแบบฝึกทักษะ และใบความรู้ที่สร้าง ขึ้นไปปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยและผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบ เพื่อหาข้อบกพร่องแล้ว นามาแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้องและเหมาะสม 2.1.3 นาชุดแบบฝึกทักษะ และใบความรู้ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองปฏิบัติกิจกรรมจริง กับกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ) จานวน 10 คน 2.2 คู่มือชุดแบบฝึกทักษะการวาดเส้น มีขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้ 2.2.1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสื่อการสอน หลักการ แนวคิด ทฤษฎี มาเป็นข้อมูลพื้นฐาน สาหรับการสร้างคู่มือชุดแบบฝึกทักษะการวาดเส้น โดยศึกษาจากตารา เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.2.2 การสร้างคู่มือชุดแบบฝึกทักษะการวาดเส้น โดยนาคู่มือชุดแบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นไป ปรึกษาครูพี่เลี้ยง อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยและผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบ เพื่อหาข้อบกพร่อง แล้วนามาแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้องและเหมาะสม 2.3 แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การวาดเส้น มีขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้ 2.3.1 ศึกษา เรื่อง การวาดเส้น จากตารา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.3.2 ศึกษาหลักสูตร ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จากหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะกับช่วงอายุเด็กระหว่าง 8-9 ปี 2.3.3 ทาการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 4 แผน โดยใช้เวลาสอน 4 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 200 นาที ดังนี้ -แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การวาดเส้นตรง

16

-แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การวาดเส้นตรงแนวนอน -แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การวาดเส้นตรงแนวเฉียง -แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การวาดเส้นขดหอย 2.3.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 4 แผนที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้อง เที่ยงตรงของเนื้อหาและความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ 2.3.5 นาแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 4 แผนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะการวาดเส้นที่ ตรวจสอบแล้วนาไปแก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ 2.3.6 นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปทดลองใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณ โณ) เลขที่ 821 ซอยจรัญสนิทวงศ์79 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้มาจากการ สุ่มอย่างง่าย จานวน 10 คน 2.4. เกณฑ์การประเมินทักษะการวาดภาพระบาย (Rubric score) มีขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้ 2.4.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสร้างแบบประเมินทางศิลปะ โดย พิจารณาคุณภาพของการปฏิบัติกิจกรรมศิลปะโดยเทียบเป็นคะแนน ดังนี้

คะแนน ผลการประเมิน 9-10 ดี 7-8 ปานกลาง 5-6 น้อย น้อยกว่า 5 ควรปรับปรุง 2.4.2 นาแบบประเมินไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเหมาะสมของเกณฑ์ การให้คะแนนเพื่อปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ 2.5. ใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนเรียน เรื่องการวาดเส้น มีขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้ 2.5.1 ศึกษาหลักสูตร วิธีการสร้างใบงานทดสอบวัดผลการเรียนรู้ทางการเรียน โดยการ วิเคราะห์เนื้อหา ตัวชี้วัด เรื่องการวาดเส้น 2.5.2 สร้างใบงานทดสอบ 1 แบบ นาแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ นามา ปรับปรุงแก้ไข จนได้ใบงานทดสอบที่ถูกต้องและเหมาะสม

3. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

17

ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้วิธีตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1 ประเภท คือ การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา ผู้วิจัยนาเครื่องมือไปให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบ ความถูกต้องเหมาะสมของการใช้ภาษา ความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) โดยพิจารณาความ คิดเห็น สอดคล้อง ไม่แน่ใจ ไม่สอดคล้อง จากนั้นนาคาตอบมาแปลงเป็น ค่าคะแนนค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective: IOC) ดังนี้ มีความคิดเห็น สอดคล้อง กาหนดคะแนนเป็น +1 มีความคิดเห็น ไม่แน่ใจ กาหนดคะแนนเป็น 0 มีความคิดเห็น ไม่สอดคล้อง กาหนดคะแนนเป็น -1 พิจารณาดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.8 – 1.00 ประเด็นใดที่ต่ากว่า 0.8 ผู้วิจัยได้ ปรับแก้ตามข้อเสนอ แนะของผู้เชี่ยวชาญและจากนั้นจึงนามาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและจัดทาชุกแบบฝึกทักษะฉบับสมบูรณ์เพื่อ นาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง

4. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเครื่องมือในการจัดทาวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเครื่องมือในการจัดทาวิจัย ประกอบด้วย 1. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบประเมินชุดแบบฝึกเสริมทักษะ 2. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบประเมินคู่มือชุดแบบฝึกเสริมทักษะ 3. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ 4. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเกณฑ์การประเมินทักษะการวาดเส้น (Rubric score) 5. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของใบงานทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน

ขั้นตอนการดาเนินงานวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยแบ่งขั้นตอนการทางานเป็น 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทักษะการวาดเส้น ผู้วิจัย ดาเนินการ ดังนี้ 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2 ปรึกษาอาจารย์ประจารายวิชา วิจัยทางศิลปศึกษา 3. เรียบเรียงและแก้ไขเนื้อหา

ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบและจัดทาเครื่องมือในการจัดทาวิจัย ผู้วจิ ัยดาเนินการ ดังนี้ 1.นาข้อมูลจากการศึกษาและวิเคราะห์มาสร้างชุดแบบฝึกเสริมทักษะ การวาดเส้น ใบงาน ทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนเรียน เรื่อง การวาดเส้น และเกณฑ์การประเมินทักษะการวาดเส้น (Rubric score)

18

โดย ชุดแบบฝึกเสริมทักษะ การวาดเส้น ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การวาดเส้น แบบฝึกทักษะ การวาดเส้น และใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เรื่องการวาดเส้น 2. นาชุดแบบฝึกเสริมทักษะ คู่มือแบบฝึกเสริมทักษะ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการวาดเส้น ใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนเรียน เรื่องการวาดเส้น และเกณฑ์การประเมินทักษะการวาดเส้น (Rubric score) ไปให้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบหาความถูกต้อง ความเหมาะสม และความเที่ยงตรง

ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้ชุดแบบฝึกทักษะกับกลุม่ ประชากร ผู้วิจัยดาเนินการ ดังนี้ 1. นาชุดแบบฝึกทักษะ การระบายสีโปสเตอร์ไล่น้าหนักแสงเงา ไปทดลองใช้กับกลุ่มประชา การตัวอย่างใน วันที่ 29-31 มกราคม พ.ศ. 2563 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณ โณ) จานวน 10 คน

ขั้นตอนที่ 4 ประเมินทักษะในการทาใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน และการวาด เส้น ของกลุ่มประชากรตัวอย่าง ผู้วิจัยดาเนินการ ดังนี้ 1. นาผลคะแนนของกลุ่มประชากรตัวอย่าง มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ และประเมินทักษะใน การทาใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เรื่องการวาดเส้น 2. นาผลคะแนนของกลุ่มประชากรตัวอย่าง มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ และประเมินทักษะใน การระบายสีโปสเตอร์ไล่น้าหนักแสงเงา เรื่องการวาดเส้น

การเก็บรวบรวมข้อมูล ในงานวิจัยชิ้นนี้มีการเก็บรวมรวมข้อมูลดังนี้ 1. ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับแนวทางและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาทักษะการวาดเส้น โดย การศึกษาค้นคว้า เก็บข้อมูลของผู้วิจัย 2. ข้อมูลเนื้อหาสาระที่จาเป็นต่อการสร้างเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ ชุดแบบฝึกทักษะ การประเมิน ทักษะการวาดเส้น ซึ่งชุดการสอน ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบฝึกทักษะ โดยการศึกษาค้นคว้า เก็บข้อมูล ของผู้วิจัย 3. ข้อมูลผลการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือในการจัดทาวิจัย จากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน 4. ข้อมูลผลการทดลองการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะการวาดเส้น จากกิจกรรมการสอน ศิลปะ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด จานวน 10 คน

19

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในงานวิจัยชิ้นนี้มีการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูล พื้นฐาน แนวทางและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาทักษะการระบายสี โปสเตอร์โดยใช้หลักการค่าน้าหนักของสี ใช้การจัดกลุ่มและการวิเคราะห์เนื้อหา 2. การวิเคราะห์การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือในการจัดทาวิจัย จากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน 2.1 หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of congruence) ของเกณฑ์การให้คะแนนของการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ คานวณจากสูตรของพิสณุ ฟองศรี (2549 : 287) ∑𝑅

IOC= 𝑁 เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องของเกณฑ์การให้คะแนน R แทน ผลรวมของคะแนนของผู้เชี่ยวชาญ N แทน จานวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 3. การวิเคราะห์ข้อมูลผลการทาใบงานทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ใช้การหาค่าร้อยละ การหา ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ทักษะ โดยใช้สูตร ดังนี้ 3.1. ค่าเฉลี่ย (Mean) คือ ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด หารด้วยจานวนข้อ มูล เป็นค่ากลางที่ นิยมใช้กันมากที่สุด ซึ่งเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ X̅ = เมื่อ

𝑁

X̅ แทน ค่าเฉลี่ย ∑ 𝑥 แทน ผลรวมของข้อมูลทุกตัวในชุดนั้น N แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด 3.2 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน คานวณจากสูตรของกัลยา วานิชย์บัญชา (2545: 38) S.D. = หรือ S.D. =

เมื่อ

∑𝑥

S.D. N x² x²)

แทน แทน แทน แทน

√∑(𝑋−𝑋)2 𝑁−1 √𝑁 ∑ 𝑋 2 −(∑ 𝑋)2 𝑁(𝑁−1)

ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนของกลุ่มตัวอย่าง จานวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกาลังสอง

20

3.3. ค่าสถิติทดสอบที ที t – test แบบ dependence มีสูตรดังนี้ t เมื่อ

t แทน D = n = ∑𝐷 = ∑ 𝐷2 =

=

∑𝐷 2 2 √∑ 𝐷 −(∑ 𝐷) 𝑛−1

;df = n-1

ค่าสถิติที่ใช้ในการพิจารณาใน t-distribution ผลต่างระหว่างคะแนนในแต่ละคู่ จานวนคู่ทงั้ หมด ผลรวมทั้งหมดของผลต่างของคะแนนก่อนและหลังการทดลอง ผลรวมยกกาลังสองของผลต่างของคะแนนก่อนและหลังการทดลอง

21

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการ วาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ป. สุวณโณ) ประจาปีการศึกษา 2563 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุดแบบฝึกเสริม ทักษะซึ่งได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ตารางที่ 4.1 เปรียบเทียบผลคะแนนใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนของนักเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะ การวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จากตารางที่ 4.1

ลาดับที่

คะแนนก่อนการใช้ คะแนนหลังการใช้ (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ผลต่างคะแนน (D)

1. 7 10 +3 9 2. 6 9 +3 9 3. 5 9 +4 16 4. 5 8 +3 9 5. 6 9 +3 9 6. 6 8 +2 4 7. 5 8 +3 9 8. 5 8 +3 9 9. 6 8 +2 4 10. 6 8 +2 4 รวม 57 85 28 82 เฉลี่ย 5.7 8.5 S.D. 0.45 0.5 พบว่าผลคะแนนของนักเรียนก่อนการใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะชุดแบบฝึกเสริมทักษะการพัฒนาทักษะการวาด เส้น มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.7 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.45 คะแนนของนักเรียนหลังการใช้ชุด

22

แบบฝึกเสริมทักษะชุดแบบฝึกเสริมทักษะการพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.5 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.5 ค่า (t) ทีค่ านวณได้ (14.00) มีค่ามากกว่า t จากตาราง (1.83) แสดงว่าหลังการทากิจกรรมมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยยะสาคัญทางสถิติระดับ 0.05 นาเสนอผลวิเคราะห์ดังตารางที่ 4.2 ตารางที่ 4.2 ผลความก้าวหน้าทางการเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตาม ทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ การทดสอบ N

คะแนนเต็ม

(X̅)

D

D



t

ก่อนเรียน หลังเรียน

10 10

5.70 8.50

2.8

28

82

*14.00

10 10

* มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.2 พบว่าหลังการเรียนจากชุดแบบฝึกเสริมทักษะชุดแบบฝึกเสริมทักษะการพัฒนา ทักษะการวาดเส้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาการทาใบงานเฉลี่ย (X̅) สูงขึ้นเท่ากับ 8.5 คะแนน มี คะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ย (D) เท่ากับ 2.8 มีค่า (t) เท่ากับ 14.00 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 แสดงว่าการเรียนจากชุดแบบฝึกเสริมทักษะทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นจริง

23

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลจากการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการวาดเส้น โดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการการพัฒนาทักษะ การวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์การ วิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการการพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ โดยใช้ชุดแบบ ฝึกเสริมทักษะการการพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ปสุวณโณ)

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยสรุปผลตามลาดับขั้นตอนและวัตถุประสงค์ ดังนี้ ขั้นตอนที่1 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทักษะการการพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลที่ศึกษาเป็นข้อมูลในการจัดทา ชุดแบบฝึก เสริมทักษะการวาดเส้น ความรู้เกี่ยวกับการการวาดเส้น และทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ โดยนาข้อมูล ที่ได้มาวิเคราะห์ นาไปจัดทาชุดแบบฝึกเสริมทักษะ และใบความรู้ในขั้นต่อไป 2 นาข้อมูลที่ได้นั้นปรึกษาอาจารย์ประจารายวิชา วิจัยทางศิลปศึกษา หลังจากนั้นนาข้อมูล มาแก้ไขปรับปรุง ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบและจัดทาเครื่องมือในการจัดทาวิจัย 1. นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ ออกแบบร่างกิจกรรมการเรียนการสอน โดยศึกษาจากหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทาการเลือกตัวชี้วัดเพื่อใช้ในงานออกแบบกิจกรรมการสอน 2. สร้างเครื่องมือชุดการสอน การวัดการประเมินผลเรื่อง การวาดเส้นพื้นฐาน แล้วนา เครื่องมือไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ หลังจากนั้นนาตัวชี้วัดที่ได้มาออกแบบกิจกรรม รวมไปถึงการวัดและการ ประเมินผล 3. จากการตรวจสอบหาความถูกต้อง ความเหมาะสม และความเที่ยงตรง ของผู้เชี่ยวชาญ สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้เรื่อง การวาดเส้นพิ้นฐาน สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมได้ มีความสอดคล้อง กับรูปแบบกิจกรรม และนาไปปรับปรุงแก้ไขกิจกรรมและเครื่องมือตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้ชุดการสอนกับกลุ่มประชากร ทดลองใช้กิจกรรมการเรียนเรื่อง การวาดเส้นพิ้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัด บางพลัด(ปสุวณโณ) ในวันที่ 17-25 กุมพาพันธ์ พ.ศ. 2564 โดยรูปแบบกิจกรรมจะแบ่งเป็น 5 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที การทากิจกรรมครั้งที่ 1 โดยเริ่มจากครูทักทายนักเรียน แจ้งวัตถุประสงค์ในการเรียน จากนั้นเริ่มทา

24 การสอนตามแผนการสอนที่ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน เริ่มด้วย ครูให้นักเรียนทาใบงานทดสอบก่อนเรียน เพื่อเป็น การทดสอบทักษะพื้นฐาน ครูแจกกระดาษ ให้นักเรียน ลงมือปฏิบัติงานแบบฝึกทักษะที่ 1 โดยใช้ ครูบรรยาย เนื้อหาความรู้เรื่อง การวาดเส้นพืน้ ฐาน พร้อมดูเนื้อหาในใบความรู้ประกอบ และให้นักเรียนทากิจกรรมในชุด แบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้นลงในช่องว่างที่กาหนด การทากิจกรรมครั้งที่ 2 ครูทบทวนการวาดเส้นและ ลักษณะของเส้น ครูบรรยายเนื้อหาความรู้ พร้อมดูเนื้อหาในใบความรู้ประกอบ ให้นักเรียนทาแบบฝึกที่ทักษะที่ 2 การวาดเส้นโค้งหลายแบบ การทากิจกรรมครั้งที่ 3 ครูทบทวนบทเรียน ครูบรรยายเนื้อหาความรู้ การวาด เส้นทั้งเส้นตรงและเส้นโค้ง พร้อมดูเนื้อหาในใบความรู้ประกอบ ให้นักเรียนทาแบบฝึกที่ 3 เส้นอิสระในการ สร้างสรรค์ผลงาน การกิจกรรมครั้งที่ 4 ครูทบทวนบทเรียน ให้นักเรียนทาแบบฝึกที่ 4 นาเส้นมาสร้างสรรค์ ผลงานโยมีเงือ่ นไขตามโจทย์ที่ได้รับ กิจกรรมครั้งที่ 5 ให้นักเรียนทาใบงานทดสอบหลังเรียนเพื่อเป็นการ ทดสอบความรู้ทั้งหมดที่นักเรียนได้ทากิจกรรมในชุดแบบฝึกเสริมทักษะ หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปเรื่อง การวาดเส้นขั้นพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 4 ประเมินทักษะในการทาใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ของกลุ่มประชากร ผลคะแนนทางด้านทักษะจากการทาใบงานทดสอบวัดทักษะก่อนเรียน-หลังเรียน โดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะการวาดเส้นขั้นพื้นฐาน จาการทดสอบพบว่าผลคะแนนของนักเรียนก่อนการใช้ชุดแบบฝึกเสริม ทักษะชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้นมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5.7 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.45 คะแนนของนักเรียนหลังการใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 8.5 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.5 ผลการเปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียนโดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น พบว่า หลัง การเรียนจากชุดแบบฝึกเสริมทักษะชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจา การทาใบงานเฉลี่ย (X̅) สูงขึ้นเท่ากับ 8.5 คะแนน มีคะแนนความก้าวหน้าเฉลี่ย (D) เท่ากับ 2.8 มีค่า (t) เท่ากับ 2.26 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงว่าการเรียนจากชุดแบบฝึกเสริม ทักษะทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดี นักเรียนมีความสามารถทางด้าน ทักษะเพิ่มขึ้น ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ที่ผู้วิจัยได้กาหนดไว้

25

อภิปรายผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาค้นคว้า การพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยงของธอร์น ไดค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด(ปสุวณโณ) อภิปรายผลได้ดังนี้ ผลการพัฒนาทักษะ เรื่อง การวาดเส้น โดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ได้ดาเนินการตาม หลักการวิจัยและพัฒนาโดยมีการวางแผน ลาดับขั้นตอนในการพัฒนาอย่างเป็นระบบ มีการแก้ไขปรับปรุง ข้อบกพร่องต่างๆ ตามคาแนะนาที่ได้จากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ มีการใช้ตามทฤษฎีความรู้ของธอร์น ไดค์ ที่ว่าด้วยทฤษฎีของธอร์นไดค์เรียกว่าทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectionism Theory) ทฤษฎีนี้กล่าวถึง การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus - S) กับการตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบื้องต้นว่า “การ เรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดี หรือเหมาะสมที่สุด เราเรียกการตอบสนองเช่นนี้ว่าการลองถูกลอง ผิด (Trial and error) นัน่ คือการเลือกตอบสนองของผู้เรียนรู้จะกระทาด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมากาหนดหรือชี้ ช่องทางในการปฏิบัติให้และเมื่อเกิดการเรียนรู้ขึ้นแล้ว การตอบสนองหลายรูปแบบจะหายไปเหลือเพียงการ ตอบสนองรูปแบบเดียวที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทาให้การตอบสนองเช่นนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าที่ต้องการ ให้เรียนรู้ต่อไปเรื่อย ๆ ถ้ามีสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้มากระทบอินทรีย์ อินทรีย์จะเลือกตอบสนองเองแบบเดาสุ่มหรือ ลองผิดลองถูก (Trial and error) เป็น R1, R2, R3 หรือ R อื่น ๆ จนกระทั่งได้ผลที่พอใจและเหมาะสมที่สุด ของทั้งผู้ให้เรียนและผู้เรียน การตอบสนองต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสมจะถูกกาจัดทิ้งไปไม่นามาแสดงการตอบสนอง อีก เหลือไว้เพียงการตอบสนองที่เหมาะสมคือกลายเป็น S-R แล้วทาให้เกิดการเชื่อมโยงไปเรื่อย ๆ ระหว่าง S กับ R นั้น บวกกับการนาแนวคิดทฤษฎีการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะที่ดีของ (สามารถ มีศรี (2530 : 28) กล่าวว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่ดีต้องเกี่ยวกับบทเรียนที่เรียนมาแล้วเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีคาสั่งและ คาอธิบาย มีคาแนะนาการใช้แบบฝึก เสริมทักษะ มีรูปแบบที่น่าสนใจและมีกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ

ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่อาจจะนาผลการวิจัยไปใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนการสอนและเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป ดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1.1 การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้นขั้นพืน้ ฐาน นักเรียนต้องรู้จักการใช้ เส้นให้ถูกต้อง ผู้เรียนบางคนยังเลือกใช้เส้นได้ไม่ถูกตรงเป้าจึงทาให้สื่อความรู้สึกได้ไม่มากพอ 1.2 ควรมีตัวอย่างขั้นตอนการวาดเส้นหลากหลายแบบให้มากกว่านี้เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ และการนาไปใช้ที่ง่ายขึ้น

26 1.3 ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ต้องคานึงถึงความเหมาะสมของเวลาที่ใช้เพราะกิจกรรมที่ จัดขึน้ ผู้เรียนอาจจะต้องใช้เวลาในการทางาน 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นแนวทางแก่ครูผู้สอนและผู้ที่เกีย่ วข้องกับเด็กในการพัฒนาความรู้ และทักษะ การวางแผนการเรียนรู้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะให้กับเด็กใน กิจกรรมศิลปะอื่นๆ

27

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ.(2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. (หนังสือ) เกสร รองเดช. (2522). การสร้างแบบฝึกเพื่อส่งเสริมการอ่านออกเสียงพยัญชนะ ฟ ฝ คว ขว สําหรับ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 ในจั งหวั ด นครศรี ธ รรมราช. วิ ท ยานิ พ นธ์ ศิ ล ปะศาสตร์ มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นิ ตยา ฤทธิ์โยธี . (2520). การทํ า และการใช้ แ บบฝึ ก เสริ ม ทั ก ษะ. เอกสารแพร่ ค วามรู้ท างการสอน ภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : หน่วยศึกษานิเทศ กรมสามัญศึกษา. บุญเกือ้ ควรหาเวช. (2530). นวัตกรรมทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์. โรจนา แสงรุ่ ง ระวี . (2531). ผลสั ม ฤทธิ์ ก ารเรี ย นสะกดคํ า ด้ ว ยการใช้ แ บบฝึ ก ของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.(การ สอนวิชาภาษาไทย. กรุงเทพฯ. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถ่ายเอกสาร. วรนาถ พ่ วงสุ วรรณ. (2518). การสร้ างแบบฝึกการผัน วรรณยุกต์สําหรั บชั้น มัธ ยมศึกษาปีที่ หนึ่ ง. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารี เชียวสระคู . (2538. การส้รางคาสอนสาหรับครู กลุ่มงานและพื้นฐานอาชะที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องเครื่องจักรสาน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทลัยขอนแก่น. สมบั ติ สุ ท ธิ ร อด. (2556). การพั ฒ นาผลการเรี ย นรู้ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง พระพุ ท ธประวั ติ ร ายวิ ช า พระพุทธศาสนา โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเซนต์ หลุยส์ศึกษา. สามารถ มีศรี . (2530). ศึกษาความก้าวหน้าด้านคุณภาพลายมือของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสุวรรณาราม กรุงเทพมหานคร หลังการสอนเสริมโดยการใช้แบบฝึก. วิทยานิพนธ์ศ ศ.ม. (การสอนภาษาไทย). กรุงเทพฯ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถ่ายเอกสาร. สุ นิ ส า เกื้ อ หนุ น . (2556). การพั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าสั ง คมศึ ก ษา (ส22106) เรื่ อ ง ภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โดยใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียน.

28

ภาคผนวก การพัฒนาทักษะการพัฒนาทักษะการวาดเส้น ตามทฤษฎีความเชื่อมโยง ของธอร์นไดค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบางพลัด (ปสุวณโณ) ประจาปีการศึกษา 2563

29

ภาคผนวก ก รายนามผู้เชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ ภาคผนวก ก รายนามผู้เชี่ยวชาญในการตรวจเครือ่ งมือ 1. รศ.ดร.เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว 2. ผศ.พิเชษฐ

สุนทรโชติ

3. นายสรรธกฤต ใสสดศรี

รองศาสตราจารย์ด็อกเตอร์ประจาสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจาสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุษย์ ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต คุณครูประจาวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป์) ระดับประถมศึกษา โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุวณโณ)

30

ภาคผนวก ข คุณภาพของเครื่องมือ 1. ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น 2. ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของคู่มือแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น 3. ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ 4. ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเกณฑ์การประเมินให้คะแนนทักษะการ วาดเส้น 5. ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน

31

ภาคผนวก ข คุณภาพของเครื่องมือ ภาคผนวก ข1 ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ ประเด็นคาถาม รวม ค่าIOC สรุปผล คนที่1 คนที่2 คนที่3 3 1.0 ใช้ได้ 1. เนื้อหามีความสอดคล้องกับมาตรฐาน +1 +1 +1 ตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางมาตรฐาน การศึกษา 2551 3 1.0 ใช้ได้ 2. มีคาแนะนาในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้ 3. มีเนือ้ หาทีเ่ รียงลาดับจากง่ายไปยาก +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้ 4. รูปภาพและตัวอักษรของชุดแบบฝึกทักษะมี +1 +1 +1 ขนาดที่เหมาะสม ใช้ได้ 5. รูปเล่มแบบฝึกทักษะ น่าอ่าน น่าศึกษาและ 0 +1 +1 2 0.6 น่าสนใจ ใช้ได้ 6. ชุดแบบฝึกทักษะสามารถนาไปใช้สอนได้ +1 +1 0 2 0.6 จริง

32 ภาคผนวก ข2 ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของคู่มือแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ตารางที่ 2 แสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของคู่มือแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ ประเด็นคาถาม รวม ค่าIOC สรุปผล คนที่1 คนที่2 คนที่3 3 1.0 ใช้ได้ 1. มีคาแนะนาในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้ 2. ระบุหน้าที่ของครูผู้สอนได้ชัดเจน +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้ 3. มีเนื้อหาการสอนที่ครบถ้วน เข้าใจง่าย +1 +1 +1

33 ภาคผนวก ข3 ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ ประเด็นคาถาม รวม ค่าIOC สรุปผล คนที่1 คนที่2 คนที่3 ใช้ได้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี และสาระ +1 +1 +1 3 1.0 การเรียนรู้ ตรงตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาชั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ใช้ได้ 2. สระการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1.0 สอดคล้องกับตัวชี้วัด ใช้ได้ 3. กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 3 1.0 และสาระการเรียนรู้ ใช้ได้ 4. เนื้อหาเหมาะสมกับวัยและความสนใจของ +1 +1 +1 3 1.0 ผู้เรียน ใช้ได้ 5. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสมต่อ 0 +1 +1 2 0.6 การเรียนในเนื้อหา

34 ภาคผนวก ข4 ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเกณฑ์การประเมินให้คะแนน ทักษะการวาดเส้น ตารางที่ 4 แสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเกณฑ์การประเมินให้คะแนนทักษะการวาดเส้น ผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ ประเด็นคาถาม รวม ค่าIOC สรุปผล คนที่1 คนที่2 คนที่3 1. เกณฑ์การประเมินสอดคล้องกับ +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้ วัตถุประสงค์ ใช้ได้ 2. รูปแบบการประเมินมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ +1 +1 +1 3 1.0 ชัดเจน ใช้ได้ 3. แบบประเมินมีเนื้อหา ครบถ้วน เข้าใจง่าย +1 +1 +1 3 1.0

35 ภาคผนวก ข5 ตารางแสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ตารางที่ 5 แสดงการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ผู้เชี่ยวชาญ ข้อที่ ประเด็นคาถาม รวม ค่าIOC สรุปผล คนที่1 คนที่2 คนที่3 3 1.0 ใช้ได้ 1. ใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนมีความ +1 +1 +1 สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ 3 1.0 ใช้ได้ 2. มีการใช้คาอธิบายโจทย์ได้เข้าใจง่าย +1 +1 +1 3 1.0 ใช้ได้ 3. มีเนื้อหาในการตั้งคาถามที่ชัดเจน +1 +1 +1

36

ภาคผนวก ค เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ใบความรูช้ ุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น 2. คู่มือชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น 3. แผนการจัดการเรียนรู้ - เรื่อง วาดเส้นให้สนุก - เรื่อง วาดเส้นให้สนุก (ครั้งที่2) - เรื่อง วาดเส้นให้สนุก (ครั้งที่3) - เรื่อง วาดเส้นให้สนุก (ครั้งที่4) - เรื่อง วาดเส้นให้สนุก (ครั้งที่5) 4. แบบประเมินทักษะการวาดเส้น 5. ใบงานทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน

37 ภาคผนวก ค เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ภาคผนวก ค1 ใบความรู้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น ใบความรู้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการการวาดเส้น (หน้าที่ 1-3) 1.1

1.

1

2

3

ใ ้ ้





ด ้

1.2 2.



38

ภาคผนวก ค2 ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการระบายสีโปสเตอร์โดยใช้หลักการค่าน้าหนักของสี รูปภาพชุดแบบฝึกเสริมทักษะการระบายสีโปสเตอร์โดยใช้หลักการค่าน้าหนักของสี (ชุดที่1 – ชุดที่ 2)

...........................................................................................

...........................................................................................

..............

..............

.............

.............

39 (ชุดที่3 – 4)

...........................................................................................

...........................................................................................

..............

..............

.............

.............

40

(ชุดที่ 5) ....................................................................................... ....................... แบบฝึกทักษะการวาดเส้น คาชี้แจง : ให้นักเรียนใช้เส้นทุกประเภทมาจัดองค์ประกอบ เพื่อถ่ายทอดความรู้สึก

นักเรียนมีความรู้สึกอย่างตอนสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

41 ภาคผนวก ค3 แผนการจัดการเรียนรู้ หั ศ 12101 ัศ ศลป์ ั ป ะถ ศ ษ ปี 3 ห ย ย 1 ุ ั ศั ศลป์ ล ย 3 ั ผ ัด ย 2 ด ห ุ ล ย 3 ั 1.



ลุ



ย ศลปะ

ย . 1.1



์ 2. ั

ัด . 3/1 บรรยายรู ปร่ าง รู ปทรงในธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ 3. ุดป ะ ์ ย 1. (K) 2. (P) 3. (A) 4. ะ ำ ัญ ์ 5.





6.

ถ ะ ำ ัญข ผ ย ญ

7. ุณลั ษณะ ั พ ป ะ ่ 8. /ภ ะ



42 9.

ัด



1 ขั ำ 1.

2.

3

ขั 3.

4. 5. 2 ขั ำ 1. 2. 3.

ขั

3

43 4. 5. 6.

4

ฏ 2

3 7. 3 ขั ำ 1. 2. 3. ขั 4.

5.

ฏ 5

6.







ฏ 7. ขั 8.

ุป ญ

10. ื

1. 2. 3. 11. ณฑ์



ัด ละ

ปะ

ผล

44 (5

) 1 3 1

-

4

3

2

(K)



1

0

-

-

-

-

(P)

(A)

-

-

45

46 ภาคผนวก ข4 แบบประเมินทักษะการวาดเส้น เกณฑ์การประเมินให้คะแนนทักษะการวาดเส้น แบบประเมินทักษะ การใช้สีโปสเตอร์ตามหลักการวาดเส้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประเด็นการประเมิน ระบายแสงเงามีมิติ ระยะ ใกล้-ไกล (2 คะแนน)

คะแนน

ระบายจาก อ่อนไป - เข้ม เข้ม - อ่อน เห็นชัดเจน (4 คะแนน) ระบายสีโปสเตอร์เรียบเนียนกลมกลืน (2 คะแนน) มีความประณีต (2 คะแนน) รวม

10 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนนทักษะ การใช้สีโปสเตอร์ตามหลักการค่าน้าหนักของสีนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 (10 คะแนน) เกณฑ์การประเมินผล คะแนน 9-10 7-8 5-6 น้อยกว่า 5

ผลการประเมิน ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง

47 ....................................................................................... ภาคผนวก ค5 ใบงาน ทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน

.......................

แบบฝึกทักษะการวาดเส้น คาชี้แจง : ให้นักเรียนใช้เส้นทุกประเภทมาจัดองค์ประกอบ เพื่อถ่ายทอดความรู้สึก

นักเรียนมีความรู้สึกอย่างตอนสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

48

ภาคผนวก ง ภาพถ่ายการดาเนินวิจัย

49 ภาคผนวก ง ภาพถ่ายการดาเนินวิจัย

ภาพขณะนักเรียนทาชุดแบบฝึกเสริมทักษะการวาดเส้น

50 ตัวอย่างผลงานก่อนเรียน-หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องการระบายสี โปสเตอร์โดยใช้หลักการค่าน้าหนักของสี ผลงานก่อนเรียน ผลงานหลังเรียน ผลงานนักเรียนคนที่ 1 ผลงานนักเรียนคนที่ 1

ผลงานนักเรียนคนที่ 2

ผลงานนักเรียนคนที่ 3

ผลงานนักเรียนคนที่ 2

ผลงานนักเรียนคนที่ 3

51

ประวัติผู้วิจัย

52

ประวัติผู้วจิ ัย ชื่อ-นามสกุล วัน เดือน ปีเกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา

นายภาณุ หอมทั่ว 05 กุมภาพันธ์ 2541 39/1 ม.4 ต.คลองมะเดื่อ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร 74110 พ.ศ. 2558 มัธยมศึกษาตอนปลาย สายศิลป์ภาษาอังกฤษ-คณิต จากโรงเรียน ประจวบวิทยาลัย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2559 ศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาศิลปศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

หน่วยงาน :

หลักสูตรศึกษาศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะมนุ ษยศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการ : เสริมทักษะการระบายสีชอล์คเบื้ องต้น ด้วยแบบฝึ กทักษะ ในระดัยชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ผู้ประสานงาน ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง

นักศึกษา

โทรศัพท์

064-7411177

นายภาณุ หอมทั่ว

หลักการและเหตุผล โดยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนวัดบางพลัดได้ มีการเรียนสีชอล์คเป็ นส่วนใหญ่ และได้ เล็งเห็นถึงความสาคัญในการที่จะช่วยเสริมทักษาะการระบายสีชอล์คให้ เด็กนักเรียนได้ มีทกั ษะการระบาย สีชอล์คที่ดีข้ นึ เนื่องจากการระบายสีชอล์คนั้นเป็ นพื้นฐานในการเริ่มเรียนศิลปะ จึงต้ องพัฒนาให้ เด็กพีฃัฒนา ให้ ดีย่งิ ขึ้นไป วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมทักษะการระบายสีภาพโดยใช้ สชี อล์ค ผลผลิตโครงการ(Output) นักเรียนมีทกั ษะการระบายสีชอล์คที่ดีข้ นึ ผลลัพธ์โครงการ(Outcome) นักเรียนสามารถนาความรู้และประสบการณ์นาไปใช้ ในการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะได้ เป้าหมาย 1.อาจารย์พ่ีเลี้ยง

จานวน

1

คน

2.นักเรียนโรงเรียนวัดบางพลัดป.1

จานวน

10

คน

รวมจานวนทั้งสิ้น

จานวน

11

คน

กิจกรรมดาเนินการ มีชุดกิจกรรมให้ เด็กนักเรียนได้ ลองลงมือปฏิบัติโดยมีคาสั่งบอกไว้ อย่างชัดเจนว่าในแต่ละชุดกิจกรรม นั้นต้ องการให้ เด็กนักเรียนฝึ กในด้ านอะไร ดังนี้ ชุดกิจกรรมที่ 1 ให้ นักเรียนระบายสีชอล์คให้ อยู่ในกรอบที่กาหนด ชุดกิจกรรมที่ 2 ให้ นักเรียนระบายสีชอล์คให้ เรีบเนียนสม่าเสมอ ชุดกิจกรรมที่ 3 ให้ นักเรียนระบายสีชอล์คโดยการใช้ สผี สมกันดังนี้ แดง-เหลือง

แดง-นา้ เงิน

นา้ เงินเหลือง

แผนดาเนินการ กิจกรรมหลัก

วันที่/ระยะเวลา ดาเนินการ 1.การระบายสีชอล์ 19 ก.พ 64 คให้ อยู่ในกรอบที่ กาหนด 2.การระบาย 22 ก.พ 64 สีชอล์คให้ เรียบ เนียนสม่าเสมอ 3.การระบาย 24 ก.พ 64 สีชอล์คโดยการนา สีมาผสมกัน

สถานที่ดาเนินการ

ผู้รับผิดชอบหลัก

หมายเหตุ

โรงเรียนวัดบาง พลัด(ป.สุวณโณ)

นายภาณุ หอมทั่ว

ใช้ แบบฝึ กหัด จานวน 1 ชุด

โรงเรียนวัดบาง พลัด(ป.สุวณโณ)

นายภาณุ หอมทั่ว

ใช้ แบบฝึ กหัด จานวน 1 ชุด

โรงเรียนวัดบาง พลัด(ป.สุวณโณ)

นายภาณุ หอมทั่ว

ใช้ แบบฝึ กหัด จานวน 1 ชุด

ระยะเวลาและสถานที่ เป็ นระยะเวลา 3 วัน โดยมีวันที่ 19-22-24 กุมภาพันธ์ 2564 สถานที่ดาเนินโครงการ โรงเรียนวัดบางพลัด(ป.สุณโณ) งบประมาณ -ค่ากระดาษ

20

บาท

-ค่าปริ้น

20

บาท

รวมเป็ นทั้งสิ้น

40

ตัวชี้ วัดความสาเร็จของโครงการ เชิงปริมาณ นักเรียยร้ อยละ 80 มีทกั ษะการระบายสีชอล์คดีข้ นึ เชิงคุณภาพ นักเรียนเจตคติท่ดี ีข้ นึ ต่อวิชาศิลปะ

บาท

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.