นำเสนอ e-port - e-sar มมร.วข.มวก Flipbook PDF

นำเสนอ e-port - e-sar มมร.วข.มวก
Author: 

75 downloads 125 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

E-PORT& E-SAR QA Online ระบบฐานข้ อมูล ด้ านการประกันคุณภาพการศึกษา โดย สำนักงำนกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ

ผลการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 - 2562 ปีการศึกษา 2561 สาขาวิชา สาขาวิชาปรัชญา สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ สาขาวิชาการปกครอง

ปีการศึกษา 2562

คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ มาตรฐาน 3.34

3.54 2.61

ดี

ดี พอใช้

ผ่าน

ผ่าน ผ่าน

สาขาวิชา สาขาวิชาปรัชญา สาขาวิชาการปกครอง สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

มาตรฐาน

3.14

ดี

ผ่าน

3.81

ดี

ผ่าน

3.44

ดี

ผ่าน

ผลการประเมิน ประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ วิทยาเขต และวิทยาลัย ย้อนหลัง 3 ปี 2560 – 2562 ปีการศึกษา 2560 คณะวิชา ผลคะแนน ระดับคุณภาพ 1. คณะศาสนาและปรัชญา 3.15 ระดับคุณภาพพอใช้ 2. คณะมนุษยศาสตร์ 4.39 ระดับคุณภาพดี 3. คณะสังคมศาสตร์ 3.96 ระดับคุณภาพดี 4. คณะศึกษาศาสตร์ 3.89 ระดับคุณภาพดี 5. บัณฑิตวิทยาลัย 3.93 ระดับคุณภาพดี 6. วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย 3.99 ระดับคุณภาพดี 7. วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย 3.89 ระดับคุณภาพดี 8. วิทยาเขตอีสาน 4.37 ระดับคุณภาพดี 9. วิทยาเขตล้านนา 4.46 ระดับคุณภาพดี 10. วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช 4.32 ระดับคุณภาพดี 11. วิทยาเขตร้อยเอ็ด 4.58 ระดับคุณภาพดีมาก 12. วิทยาเขตศรีล้านช้าง 3.43 ระดับคุณภาพพอใช้ 13. มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย ในพระสังฆราชูปถัมภ์ 3.97 ระดับคุณภาพดี 14. วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ 3.86 ระดับคุณภาพดี 15. วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร 3.60 ระดับคุณภาพดี 3.99 ระดับคุณภาพดี

ปีการศึกษา 2561 ผลคะแนน ระดับคุณภาพ ผลคะแนน 3.44 3.74 ระดับคุณภาพดี 3.60 3.83 ระดับคุณภาพดี 4.27 4.23 ระดับคุณภาพดี 3.26 3.62 ระดับคุณภาพดี 3.72 3.45 ระดับคุณภาพดี 3.91 3.98 ระดับคุณภาพดี 4.06 4.24 ระดับคุณภาพดี 4.58 4.69 ระดับคุณภาพดีมาก 4.13 4.51 ระดับคุณภาพดีมาก 4.16 4.45 ระดับคุณภาพดี 4.54 4.63 ระดับคุณภาพดี 3.62 4.50 ระดับคุณภาพดี 4.17 3.56 ระดับคุณภาพดี 3.56 3.91 ระดับคุณภาพดี 4.30 3.75 ระดับคุณภาพดี 4.07 ระดับคุณภาพดี 3.96

ปีการศึกษา 2562 ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี

ortfoli

ปัญหาที่พบในการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา

ผู้บริหาร/อาจารย์ และเจ้ าหน้ าทีไ่ ม่ เข้ าใจเกณฑ์ การประกันคุณภาพอย่ างท่ อง แท้ . อาจารย์ ทุกท่ านขาดการประชุ มร่ วมกันอย่ างสมา่ เสมอ. ขาดการวางแผนการปฏิบัติงานและนาข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ ไขร่ วมกัน. ความเชื่ อมโยงของตัวบ่ งชี้และกิจกรรมทีจ่ ัดไม่ สอดรับกัน

มคอ. 2 กับ มคอ.7 (รายงานการประเมินตนเอง) เขียนผลการดาเนินอย่ างไม่ สอดคล้ องกัน. มาตรฐานคณะกรรมการตรวจประเมินไม่ เท่ าเทียมกัน เพิม่ ภาระงานให้ กบั อาจารย์

แนวทางแก้ ไข - อาจารย์ ผ้ ู รับ ผิด ชอบหลักสู ตรทุ ก ท่ านต้ อ งเข้ าใจ มคอ. 2 ของหลักสู ต ร ตัวเองและยึดปฏิบัติ - อบรมผู้บริหาร/อาจารย์ และเจ้ าหน้ าทีใ่ ห้ เข้ าใจเกณฑ์ การประกันคุณภาพ - ผู้บริหาร /อาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ประชุ มวางแผนการปฏิบัติงานและนา ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขร่ วมกันอย่ างสม่าเสมอ

- จัดกิจกรรมให้ สอดคล้องและเชื่ อมโยงของตัวบ่ งชี้ - พัฒนาระบบเพื่อลดภาระงานให้ กบั อาจารย์

คู่มือที่ต้องใช้ในระบบประกันคุณภาพฯ

การประชุมวางแผนบริหารจัดการหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ข้อ 1 อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร บังคับ ข้อ 1 – 5 ต้องผ่าน ประชุมวางแผน : เรื่อง การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนเข้า การควบคุมดูแลให้คาปรึกษาวิชาการ และแนะแนวแก่นักศึกษา การคงอยู่นักศึกษา การบริหารและพัฒนาอาจารย์ การวางอาจารย์ผู้สอน กระบวนการ จัดการเรียนการสอน มคอ. 3 – มคอ. 7 การประเมินผู้เรียนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา สิ่งสนับสนุน การเรียนการสอนอาจารย์และนักศึกษา ฯลฯ ประชุมการติดตาม : การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อมก่อนเข้า การควบคุมดูแลให้คาปรึกษาวิชาการและ แนะแนวแก่นักศึกษา การคงอยู่นักศึกษา การบริหารและพัฒนาอาจารย์ การวางผู้สอนอาจารย์ กระบวนการ จัดการเรียนการสอน มคอ. 3 – มคอ. 7 การประเมินผู้เรียนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา สิ่งสนับสนุน การเรียนการสอนอาจารย์และนักศึกษา ฯลฯ ผลลัพธ์ ผลกระทบเป็นอย่างไร ประชุมทบทวนการดาเนินงาน : หาแนวทางแก้ไขปรับปรุงในปีถัดไป

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1

การรับนักศึกษา

ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่งชี้ คุณสมบัติของนักศึกษาที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตรเป็นปัจจัยพื้นฐานของความสาเร็จ แต่ละหลักสูตร จะมีแนวคิด ปรัชญาในการออกแบบหลักสูตร ซึ่งจาเป็นต้องมีการกาหนดคุณสมบัติของนักศึกษาที่สอดคล้องกับลักษณะ ธรรมชาติ ของหลักสูตร การกาหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกต้องมีความโปร่งใส ชัดเจน และสอดคล้องกับ คุณสมบัติของ นักศึกษาที่กาหนดในหลักสูตร มีเครื่องมือที่ใช้ในการคัดเลือก ข้อมูล หรือวิธีการคัดนักศึกษาให้ได้นักศึกษาที่มีความ พร้อมทางปัญญา สุขภาพกายและจิต ความมุ่งมั่นที่จะเรียน และมีเวลาเรียนเพียงพอ เพื่อให้สามารถสาเร็จการศึกษา ได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานในประเด็นที่ เกี่ยวข้องอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ - การรับนักศึกษา - การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา

การกาหนดตัวบ่งชี้บอกความสาเร็จของระบบและกลไก ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ จานวนนักศึกษา 60 รูป/คน (เป็นตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ มคอ.2) ร้อยละการสละสิทธิ์การเข้าศึกษาต่อที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง เป้าหมายเชิงคุณภาพ นักศึกษาที่มีความพร้อมที่จะเรียนในหลักสูตร มีความสามารถเรียนรู้ในหลักสูตรได้ตลอดหลักสูตร และมี คุณสมบัติที่ตรงกับความต้องการและสอดคล้องกับปรัชญาของหลักสูตร

P : หลักสูตรวางแผนการรับนักศึกษา กาหนดจานวนการรับนักศึกษา และช่องทาง การรับนักศึกษา พิจารณาเลือกคณะกรรมการออกข้อสอบ และสอบสัมภาษณ์ D : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรส่งแผนการรับนักศึกษา จานวนการรับนักศึกษา และ ช่องทางการรับนักศึกษาให้กับฝ่ายจัดการศึกษางาน สานักทะเบียน ผ่านคณะ วข./วล. รวมทั้งเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการออกข้อสอบคัดเลือก คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ C : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประเมินผลการรับนักศึกษา A : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรนาผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาการวาง แผนการรับนักศึกษา ประเมินกระบวนการรับนักศึกษา....

การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา เป้าหมายเชิงปริมาณ จานวนนักศึกษาใหม่ที่ไม่พร้อมทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อม เป้าหมายเชิงคุณภาพ นักศึกษาใหม่ที่ไม่พร้อมทุกคนได้รับการพัฒนาและมีความพร้อมในการเรียนโดยมีการเตรียมความพร้อม เช่น ด้านภาษาไทย ด้านสารสนเทศและสื่อเทคโนโลยี ด้านภาษาอังกฤษ ด้านพระพุทธศาสนา

P : หลักสูตรประชุมกาหนดนโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อม สารวจจานวนนักศึกษา พบปัญหา นักศึกษา อ่อนด้านไหน เพื่อวางแผนจัดทากิจกรรมเสริมทักษะ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้มีทักษะในการที่จะเรียนรู้รายวิชาต่าง ๆ D : ดาเนินการจัดอบรม หรือเสริมรายชั่วโมงให้นักศึกษา ปรับพื้นฐานให้แก่นักศึกษาก่อนเข้าศึกษา C : หลักสูตรประเมินผลการเรียนนักศึกษา หรือประเมินกระบวนการจัดกิจกรรม เช่น คะแนนเพิ่มมากขึ้น หรือประเมิน จากการสังเกตนักศึกษามีพฤติกรรมที่ดีขึ้น A : หลักสูตรนาผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาการวางแผนการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา

มีระบบสารสนเทศสาหรับการบริหาร จัดการได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อลดขั้นตอนในการทางาน เพื่อสร้ างเครื่ องช่ วยในการกากับ ติดตาม ความก้ าวหน้ าของกระบวนการพัฒนา คุณภาพ

1 2 3

4 5 6

ortfoli

ระบบ E-PORT& E-SAR วัตถุประสงค์

เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการเชื่ อมโยงข้อมูล สารสนเทศ เพื่อเป็ นเครื่ องมือช่ วยมหาวิทยาลัยใน การจัดทารายงานการประเมินตนเอง

เพื่อลดปัญหาการสิ้นเปลืองทรัพยากร

ความเชื่ อมโยงของระบบ E-Sar E-Port

ระบบแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์

ระบบรายงานการประเมินตนเองออนไลน์ (มมร)

CHE CO CHE QA

ระบบรายงานการประเมินตนเองออนไลน์ (สกอ.)

ระบบรับทราบหลักสู ตร

ข้ อมูลหลักภายในระบบ e - sar E-Sar

ข้ อมูลเชิงคุณภาพ บรรยายถึงมหาวิทยาลัย

ข้ อมูลเชิงปริมาณ Common Data Set

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1.รายงานการประเมินตนเอง 2.ผลการประเมินโดยคณะกรรมการ

หน้ าที่ของอาจารย์ ผ้ รู ับผิดชอบระดับหลักสู ตร ผ่ านระบบฐานข้ อมูลด้ านการประกันคุณภาพการศึกษา ลาดับ

ขั้นตอน

1 เจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพเพิ่มรายวิชา เทอม 1 2 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบรายวิชากรอก มคอ. 3 เทอม 1 3 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตรตรวจสอบมคอ. 3 เทอม 1 4 5 6 7

อาจารย์กรอกข้อมูลงานวิจยั /วิชาการ และข้อมูลด้านอื่น ๆ ผ่านระบบ E- port รอบที่ 1 ปี การศึกษา 2563 เจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพกากับและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล รอบที่ 1 รายงานผูบ้ ริ หาร อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบรายวิชากรอก มคอ. 5 เทอม 1 /ผลการประเมินอาจารย์/เกรด อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตรตรวจสอบมคอ. 5 เทอม 1 /ผลการประเมินอาจารย์/เกรด

8 9 10 11 12 13 14 15 16

อาจารย์กรอกข้อมูลงานวิจยั /วิชาการ และข้อมูลด้านอื่น ๆ ผ่านระบบ E- port รอบที่ 2 ปี การศึกษา 2563 เจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพกากับและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล รอบที่ 2 รายงานผูบ้ ริ หาร เจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพเพิ่มรายวิชา เทอม 2 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบรายวิชากรอก มคอ. 3 เทอม 2 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตรตรวจสอบมคอ. 3 เทอม 2 อาจารย์กรอกข้อมูลงานวิจยั /วิชาการ และข้อมูลด้านอื่น ๆ ผ่านระบบ E- port รอบที่ 3 ปี การศึกษา 2563 อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบรายวิชากรอก มคอ. 5 เทอม 2 /ผลการประเมินอาจารย์/เกรด อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตรตรวจสอบมคอ. 5 เทอม 2 /ผลการประเมินอาจารย์/เกรด อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสูตรรายงาน มคอ. 7 จากระบบ E- Sar

จนท. อาจารย์

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

2563 ก.ย. ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

2564 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.

e-portfolio

การบันทึกข้ อมูลผ่ านระบบ งานประกัน

แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-portfolio) เป็ นระบบสาหรับการสร้ างแฟ้มสะสมผลงาน โดยสามารถใช้ งานผ่ านทางอินเทอร์ เน็ต พร้ อมกับชื่ อผู้ใช้ งานและรหัสผ่ าน เช่ นเดียวกับ ระบบสารสนเทศของซึ่งผู้ตรวจก็สามารถทาการเข้ าสู่ ระบบเพื่อทาการตรวจแฟ้ มสะสม ผลงานผ่านทางอินเทอร์ เน็ตได้ เช่ นเดียวกัน

eSAR เป็ นระบบการตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสู ตร ที่มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัยพัฒนาขึน้ ซึ่งระบบ eSAR จะเชื่ อมโยงฐานข้ อมูล e-portfolio เพื่อให้อาจารย์ สามรรถดึงข้อมูลดังกล่าวมาประเมินได้สะดวกและง่ายขึ้น

ประกาศ

THANK YOU

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.