Data Loading...

การฉีดอินซูลินด้วยปากกาฉีดอินซูลิน Flipbook PDF

การฉีดอินซูลินด้วยปากกาฉีดอินซูลิน


1,364 Views
376 Downloads
FLIP PDF 1.26MB

DOWNLOAD FLIP

REPORT DMCA

1

การฉีดอินซูลินด้วยปากกาฉีดอินซูลิน(Insulin)

การฉีดอินซูลน ิ ด้วยปากกา เป็นวิธีหนึ่งในการดูแลรักษาผู้เป็นเบาหวานให้ควบคุม น้าตาลได้ดีขึน ชนิดของอินซูลินที่ผู้เป็นเบาหวานได้รับจะมีระยะเวลาการออกฤทธิ์ระยะเวลาใน การฉีดและขนาดของอินซูลินที่แตกต่างกัน ดังนันผู้เป็นเบาหวานควรฉีดอินซูลินตามระยะเวลา ของการออกฤทธิ์ เวลา และตามขนาดที่แพทย์แนะน้า

อุปกรณ์ในการฉีดยาอินซูลน ิ ปากกาฉีดอินซูลน ิ 



การเลือกใช้ปากกาฉีดอินซูลินขึนอยู่กับผู้ป่วยแต่ละราย โดยปากกาแต่ละชนิดควรเลือก ให้ถูกต้องกับหลอดอินซูลน ิ ที่ผลิตมาจกบริษัทเดียวกันเท่านัน ไม่สามารถใช้ร่วมกับ อินซูลินจากบริษัทอื่นได้ ปากกาอินซูลินเป็นอุปกรณ์ส่วนบุคคล ห้ามน้าไปใช้กับผู้อื่นโดยเด็ดขาด และไม่ควรใช้ปากกาที่ช้ารุดแล้ว

1.ชนิดของปากกาอินซูลน ิ 1.1 ปากกาอินซูลินแบบส้าเร็จ (disposable) ได้แก่ ปากกาที่บรรจุชนิดของอินซูลินไว้เรียบร้อยแล้ว ไม่สามารถแยกหลอดยาออกมาได้และเมื่อใช้อินซูลน ิ จนหมด ไม่สามารถน้าปากกานันมาใช้ซ้าได้อีก

2 1.2. ปากกกาอินซูลินแบบต้องประกอบ โดยการใสหลอดอินซูลินตามชนิดของอินซูลิน ที่ต้องการ เมื่อใช้อินซูลินหมดหลอดสามารถเปลี่ยนอินซูลินหลอดใหม่ หรือชนิดใหม่ที่อยู่ ภายใต้การผลิตของ จากบริษัทเดียวกันเพื่อให้กับปากกาอินซูลินด้ามเดิม

หัวเข็มส้าหรับปากกาอินซูลน ิ การเลือกหัวเข็มในการฉีดอินซูลิน ต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ขนาดของ หัวเข็มมีขนาด 30,31,32G โดยตัวเลขที่สูงขึนมีความหมายว่าเข็มมีเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลง 

การใช้เข็มซ้า ต้องมั่นใจว่าเข็ม สะอาดและไม่อุดตัน โดยใช้ซ้าได้ ไม่เกิน 5 ครัง และไม่ควรใช้ร่วมกับ ผู้อื่น



ให้ทดสอบการอุดตันของหัวเข็ม ก่อนการฉีดทุกครัง โดยการจับ ด้ามปากกาอินซูลินตังตรง ให้หัวเข็มชีขึนด้านบนและ กดยาทิง 1-2 ยูนิต บางครังอาจมีฟองอากาศมาก ต้องท้าซ้าจนกว่าจะเห็นหยด อินซูลินถูกดันออกมาจากปลาย เข็ม

3 การเตรียมยาฉีดอินซูลน ิ

ลักษณะน้าใส

1.สังเกตวันหมดอายุข้างหลอดและลักษณะ ของอินซูลินว่ามีการเสื่อมสภาพก่อนใช้ หรือไม่ เช่นมีตะกอนและสีเปลี่ยนไป หลอดยาอินซูลินที่ยังไม่เปิดใช้ เก็บในตู้เย็นอุณหภูมิ 2-8 องศา  มีอายุการใช้งานตามที่ระบุบนฉลากยา  ต้าแหน่งที่เก็บยาในตู้เย็น คือ ชันวางของในตู้เย็น X ห้ามเก็บยาในช่องแช่แข็ง กล่องใต้ช่องแช่แข็ง ช่องเก็บผัก และประตูตู้เย็น

X ห้ามเก็บยาในรถที่จอดทิงไว้กลางแจ้งหรือในบ้านที่มีแสงส่องสว่างอุณหภูมิสูงเกิน30 องศา X กรณีเดินทางโดยเครื่องบิน ห้ามเก็บยา/ปากกาทีม ่ ียาบรรจุอยูใ ่ นกระเป๋าเดินทางที่เก็บ ในห้องเก็บสัมภาระ ให้เก็บยา/ปากกาที่มย ี าบรรจุอยู่ในกระเป๋าทีถ ่ ือติดตัวขึนเครื่องบิน

 กรณีเดินทางโดยรถยนต์ ให้น้าไปกับตนเองทุกครังที่ออกจากรถ ไม่ควรพกพายาฉีดโดยการเก็บ ในกระเป๋าเสือหรือติดกับตัว เนื่องจากอุณหภูมิร่างกายที่สูงส่งผลให้ยาเสื่อมสภาพ

ลักษณะน้าขุน ่

4 การเตรียมยาฉีดอินซูลน ิ 2. ล้างมือ ฟอกสบู่ เช็ดมือให้สะอาด

3.เตรียมส้าลีแอลกอฮอล์ เพื่อท้าความสะอาดผิวหนังก่อนการฉีดอินซูลิน

4.การเตรียมหัวเข็ม เช็ดจุกยางหลอดอินซูลินด้วยส้าลีแอลกอฮอล์และรอให้แห้งก่อนใส่เข็ม ใหม่ทุกครัง

ใส่หัวเข็มในแนวตังตรงเพื่อป้องกันการรั่วซึมหรือเข็มหักพับงอ

5 5.การผสมอินซูลินให้เป็นเนือเดียวกันก่อนฉีด ส้าหรับอินซูลินชนิดขุ่น ก่อนใช้ทุกครังให้คลึงปากกาบนฝ่ามือไป-มา ในแนวนอน 10 ครัง และในแนวดิ่ง 10 ครังเพื่อให้อินซูลินกระจายตัวสม่้าเสมอทั่วทังหลอด ห้ามเขย่าปากกา

6.การไล่ฟองอากาศ ต้องไล่ฟองอากาศทุกครังเมื่อเปลี่ยนหัวเข็มหรือหลอดอินซูลินใหม่ เพื่อทดสอบว่าปลายเข็มอุด ตันหรือไม่โดยการจับด้ามปากกาอินซูลินตังตรงให้หัวเข็มชีขึนด้านบนและกดยาทิง 1-2 ยูนิต บางครังอาจมีฟองอากาศมากต้องท้าซ้าจนกว่าจะเห็นหยดอินซูลินถูกดันออกมาจากปลายเข็ม

7.การตังสเกลของยาฉีดอินซูลิน หมุนปลายปากกา จะมีหน้าจอแสดงจ้านวนยูนิต ที่ใช้ฉีดอินซูลิน ปรับสเกลไปตามค้าสั่งตามแผน การรักษาของแพทย์

6 วิธก ี ารฉีดอินซูลน ิ บริเวณที่เหมาะสมในการฉีดอินซูลิน •

บริเวณที่ดีที่สุด คือ หน้าท้อง โดยฉีดห่างจากรอบสะดืออย่างน้อย 2 นิวมือ (3 ซม.)

ต้าแหน่งการฉีดอินซูลินในผู้ป่วยหญิงที่ตังครรภ์

การดูดซึมที่หน้าท้องเร็วกว่าต้นแขน ต้นขาและบันท้ายตามล้าดับ

7

การหมุนเวียนที่ฉีดควรเปลี่ยนต้าแหน่งที่ฉีดโดยเว้นระยะห่างจากที่เดิมที่ฉีดประมาณ 2 นิวมือ และจะกลับมาฉีดในต้าแหน่งเดิมได้เมื่อพ้นระยะ 4 ถึง 8 สัปดาห์ไปแล้ว



การฉีดซ้าต้าแหน่งเดิมบ่อยครังในระยะเวลาใกล้เคียงกันอาจท้าให้เกิดผิวหนังบริเวณที่

ฉีด เกิดเป็นก้อนนูนแข็ง หรือรอบปุ๋มท้าให้ การดูดซึมอินซูลินน้อยลง



ไม่ควร ย้ายบริเวณที่ฉีดทุกวัน เช่น ย้ายจากหน้าท้องแล้วไปฉีดบริเวณแขนและขา

เพราะท้าให้การดูดซึมยาแตกต่างกัน และไม่ควรนวดหรือประคบบริเวณที่ฉด ี เพราะจะท้าให้ยา ดูดซึมเร็วท้าให้เกิดน้าตาลต่้าได้ง่าย

8

ขันตอนฉีดอินซูลน ิ ด้วยปากกา 

ปรับขนาดอินซูลน ิ ตามแผนการรักษา ของแพทย์ โดยปรับยาและหมุนตัวเลข ที่ด้ามปลายกระบอก (ถ้าหมุนเกินสามารถหมุนกลับได้)

 ใช้มือข้างที่ถนัด ก้าปากกาด้วยนิวทัง 4 นิว โดยให้นิวหัวแม่มืออยูต ่ ้าแหน่งปุ่มกดยา



ท้าความสะอาดต้าแหน่งที่จะฉีด อินซูลินด้วยส้าลีชุบแอลกอฮอล์ หมาดๆรอแห้ง



ยกผิวหนังขึนเล็กน้อย หรือดึงผิวหนังให้ตึงขึนอยู่ กับความยาวของเข็ม และลักษณะผู้ปว ่ ยอ้วนหรือผอม

9

 แทงเข็มตังฉากเข้าใต้ผิวหนัง จนมิดเข็ม  กดปุ่มฉีดยาจนสุด ตัวเลขจะกลับมาที่ 0 กดค้างไว้นับ 1-10 ช้าๆ (10 วินาที) หลังเดินยาหมดแล้ว ถอนเข็มออกในแนวเดียวกันและ ควรสังเกตว่ามีอินซูลินหยดตาม ออกมาหลังถอนเข็มหรือไม่ ถ้ามีควรถอนเข็มออกให้ชา้ กว่าเดิม

 ใช้ส้าลีแห้ง กดต้าแหน่งฉีด ห้ามคลึง



สวมปลอกเข็มกลับอย่างระมัดระวัง



ทิงหัวเข็มในกล่องทิงเข็มหรือ ภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด

อ้างอิงจากค้าแนะน้าการฉีดยาเบาหวานสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลินิกเบาหวาน แผนก คลินิกบริการอายุรกรรม โรงพยาบาลวิภาวดี 02-561-111-1 ต่อ 1230,1222,1221