Data Loading...
การลงประชามติเพื่อปฏิรูปรัฐสภาอิตาลี Flipbook PDF
การลงประชามติเพื่อปฏิรูปรัฐสภาอิตาลี
125 Views
76 Downloads
FLIP PDF 993.03KB
โครงการขับเคลือนการจัดทําเอกสารวิชาการ ของสํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา
การลงประชามติเพือปฏิรูปรัฐสภาอิตาลี กษิตา เจริญพันทวีสิน
เอกสารวิชาการนีเปนความคิดเห็นและความรับผิดชอบส่วนบุคคลของผู้เขียน สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภาไม่จําเปนต้องเห็นพ้องด้วย.
1
การลงประชามติเพื่อปฏิรูปรัฐสภาอิตาลี กษิตา เจริญพันทวีสิน
1
การลงประชามติเพื่อปฏิรูปรัฐสภาอิตาลี การลงประชามติ เ พื่ อ รั บ ร า งกฎหมายปฏิ รู ป รั ฐ สภาอิ ต าลี ถู ก จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 20 – 21 กั น ยายน พ.ศ. 2563 รางกฎหมายดังกลาวมีเนือ้ หาทีเ่ กีย่ วของกับการเปลีย่ นแปลงจํานวนสมาชิกสภาของสาธารณรัฐอิตาลี โดยแกไขรัฐธรรมนูญในสวนทีเ่ กีย่ วของบางมาตรา เพือ่ ลดจํานวนสมาชิกรัฐสภาลงกวา 1 ใน 3 ของจํานวนสมาชิก เดิม ซึง่ ปจจุบนั อิตาลีมกี ารปกครองแบบสองสภา ประกอบดวย สภาผูแ ทนราษฎร (Camera dei Deputati) และ วุฒสิ ภา (Senato della Repubblica) มีจํานวนสมาชิกสภาทีม่ าจากการเลือกตัง้ รวมมากทีส่ ดุ ในยุโรปตะวันตก โดย มีจํานวนรวม 945 คน ประกอบดวยสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร (Deputati) จํานวน 630 คน และสมาชิกวุฒสิ ภา (Senatori) จํานวน 315 คน2การลงประชามติในครัง้ นีจ้ ะเปนการลงประชามติเพือ่ รับรางกฎหมายปฏิรปู รัฐธรรมนูญ (Referendum Costituzionale) ครัง้ ที่ 4 ในประวัตศิ าสตรของสาธารณรัฐอิตาลี ความเปนมา แนวคิดนี้เปนความคิดริเริ่มของพรรค Movimento 5 Stelle ซึ่งมองวาจํานวนสมาชิกสภาอิตาลีที่มาก เกินไปในปจจุบันนั้น นอกจากจะทําใหการทํางานในสภาไรเอกภาพแลว ยังเปนการสูญเสียงบประมาณอัน เกินความจําเปน ซึ่งในภาพรวมแลวก็ไดรับการสนับสนุนจากพรรคการเมืองอื่นดวย โดยรางกฎหมายแกไข รัฐธรรมนูญดังกลาวไดถูกเสนอตอวุฒิสภาอิตาลีตั้งแตชวงตนป พ.ศ. 2562 โดยไดรับเสียงสนับสนุนจากทั้ง สองสภาในการพิจารณาทั้งสองครั้ง จนกระทั่งในการลงมติครั้งที่ 2 ของสภาผูแทนราษฎรเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2562 สภาผูแทนราษฎรอิตาลีก็ไดลงคะแนนรับรองรางกฎหมายดังกลาว และไดประกาศลง ในรัฐกิจจานุเบกษา (Gazzetta Ufficiale) เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2562
1 2
นักวิเทศสัมพันธปฏิบัติการ กลุมงานภาษาฝรั่งเศส รัสเซีย และอิตาลี สํานักภาษาตางประเทศ
ในจํานวนนี้ยังไมรวมสมาชิกวุฒิสภาตลอดชีพ (Senatore a vita) ตามรัฐธรรมนูญมาตราที่ 59 ประกอบดวย อดีตประธานาธิบดีที่จะไดรับสถานะเปนสมาชิก วุฒิสภาโดยอัตโนมัติหลังหมดวาระ และสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแตงตั้งโดยประธานาธิบดี โดยเลือกจากพลเมืองที่มีผลงานดีเดนดานสังคม วิทยาศาสตร ศิลปะ และวรรณกรรม ซึ่งอดีตประธานาธิบดีก็จะไดรับตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาโดยอัตโนมัติหลังหมดวาระการเปนประธานาธิบดีอีกดวย เพียงแตจะไมถูกนับรวมอยูใน จํานวนสมาชิกฯที่ไดรับการแตงตั้ง สืบคนจาก https://www.senato.it/1021 ณ วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2563
2
รางกฎหมายดังกลาวยังไมมผี ลบังคับใช ทัง้ ๆ ทีค่ วรจะมีผลบังคับใชตงั้ แตชว งตนปทผี่ า นมา สาเหตุทที่ ําใหเกิดความลาชา เนือ่ งจากกระบวนการแกไขรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วของของอิตาลี ตามรัฐธรรมนูญมาตราที่ 138 ไดกําหนดวา หากการลงมติรบั รางกฎหมายไมไดรบั คะแนนเสียงขางมาก 2 ใน 3 จากสภาใดสภาหนึง่ ในการลงคะแนนครัง้ สุดทาย สมาชิกสภาใดสภาหนึง่ จํานวนไมนอ ยกวา 1 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกสภานัน้ สามารถเขาชือ่ รองขอใหมกี ารทําประชามติ ไดภายในสามเดือนนับจากวันทีม่ กี ารประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา ซึง่ ในการลงมติรบั รางครัง้ ที่ 2 ของวุฒสิ ภาอิตาลีมี คะแนนเสียงขางมากไมถงึ เกณฑทกี่ ําหนด คือ 2 ใน 3 ของสมาชิกวุฒสิ ภา ทําใหตอ มาไดมสี มาชิกวุฒสิ ภาจํานวน 71 คน (คิดเปนจํานวนเกินกวา 1 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกวุฒสิ ภาทัง้ หมด) รวมกันลงชือ่ และยืน่ คํารองตอศาลฎีกาของอิตาลีเมือ่ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2563 เพือ่ ขอใหมกี ารทําประชามติตามทีไ่ ดกําหนดไวในมาตรา 138 ของรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ สถานการณโรคระบาดโควิด 19 อันหนักหนวงในอิตาลีชว งตนปทผี่ า นมาก็ไดทําใหการลงประชามติตอ งถูกเลือ่ นออกไป จากเดิมทีก่ ําหนดไวเมือ่ วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2563 โดยมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ กลางเดือนกรกฎาคมทีผ่ า นมาไดเห็นชอบ ใหจดั การลงประชามติในวันที่ 20 และ 21 กันยายน พ.ศ. 2563 แทน รายละเอียดของรางกฎหมาย การลงประชามติเพือ่ รับรางกฎหมายดังกลาว ไดพดู ถึงการรับรางกฎหมายเพือ่ แกไขรัฐธรรมนูญมาตรา 56, มาตรา 57 และ มาตรา 59 ของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบนั เพือ่ ลดจํานวนสมาชิกรัฐสภารวมทัง้ สองสภาลง 345 คน คิดเปนจํานวนกวา 1 ใน 3 ของ จํานวนสมาชิกเดิมทีม่ อี ยูท งั้ หมด 945 คน ซึง่ หากการแกไขรัฐธรรมนูญสําเร็จ จะทําใหจํานวนประชากรอิตาลีตอ จํานวนสมาชิกสภา ผูแ ทนราษฎร 1 คน เพิม่ ขึน้ จากเดิม 96,006 คน เปน 151,210 คน และจํานวนประชากรอิตาลีตอ จํานวนสมาชิกวุฒสิ ภา 1 คน เพิม่ ขึน้ จากเดิมราว 188,424 คน เปน 302,420 คน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมาชิกวุฒส ิ ภา
3
รางกฎหมายแกไขรัฐธรรมนูญดังกลาวประกอบดวย 4 มาตรา3 ไดแก มาตราที่ 1 – แกไขมาตราที่ 56 ลดจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งจากเดิม 630 คน เหลือ 400 คน ในจํานวนนี้รวมไปถึงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ไดรับการเลือกตั้งจากชาวอิตาลีที่อาศัยอยู นอกสาธารณรัฐอิตาลี เดิมจํานวน 12 คน เหลือ 8 คน มาตราที่ 2 – แกไขมาตราที่ 57 ลดจํานวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งจากเดิม 315 คน เหลือ 200 คน ในจํานวนนี้รวมไปถึงสมาชิกวุฒิสภาที่ไดรับการเลือกตั้งจากชาวอิตาลีที่อาศัยอยูนอกสาธารณรัฐ อิตาลี เดิมจํานวน 6 คน เหลือ 4 คน ในขณะที่จํานวนสมาชิกวุฒิสภาขั้นตํ่าที่ถูกกําหนดไวใหแตละแควนลด ลงจาก 7 เหลือ 3 คน นอกจากนี้ ยังมีการกําหนดใหจังหวัดปกครองตนเอง Trento และ Bolzano มีฐานะ เทียบเทาแควน ซึ่งทําใหทั้งสองไดโควตาจํานวนสมาชิกวุฒิสภา ไปจังหวัดละ 3 คนเชนกัน มาตราที่ 3 – แกไขมาตราที่ 59 กําหนดใหตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาตลอดชีพในสภาที่ไดรับการแตงตั้งโดย ประธานาธิบดีแหงสาธารณรัฐอิตาลี มีจํานวนสูงสุดไดไมเกิน 5 คนในทุกกรณี ทั้งนี้เพื่อลดความไมชัดเจน ของขอกฎหมายเดิมที่อาจเกิดการตีความไปไดวาประธานาธิบดีหนึ่งคนสามารถเสนอไดคนละ 5 ชื่อ เชน ในกรณีที่อดีตประธานาธิบดี Sandro Pertini (ดํารงตําแหนง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 – 29 มิถุนายน พ.ศ. 2528) และอดีตประธานาธิบดี Francesco Cossiga (ดํารงตําแหนง 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 – 28 เมษายน พ.ศ. 2535) ที่ตางเสนอไปคนละ 5 ชื่อ ทําใหมีผูอยูในตําแหนงดังกลาวพรอมกัน ในสภาถึง 9 คน4 มาตราที่ 4 – กําหนดเวลาบังคับใชกฎหมาย ให มีผลบังคับใชตงั้ แตวนั ทีม่ กี ารยุบสภาหรือเมือ่ หมด วาระของสภาชุดปจจุบนั ทัง้ นี้ โดยตองพนกําหนด 60 วัน นับแตวนั ประกาศใชกฎหมาย รัฐธรรมนูญอิตาลี ที่มา:https://www.culturacattolica.it/attualit%C3%A0/in-rilievo/ultime-news/2018 /06/19/i-cattolici-e-la-costituzione
3
อางอิงจาก http://www.comune.mirandola.mo.it/aree-tematiche/documenti-del-cittadino/referendum-costituzionale-settembre2020/referendum-29-marzo ณ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2563 4
นาย Eduardo de Filippo หนึ่งในสมาชิกวุฒิสภาตลอดชีพ ไดรับการแตงตั้งโดยอดีตประธานาธิบดี Sandro Pertini เมื่อป พ.ศ. 2524 และหมดวาระลง เมื่อเสียชีวิตในป พ.ศ. 2527 สืบคนจาก http://www.senato.it/leg/09/BGT/Schede/Attsen/00000789.htm ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2563
4
สถานการณ/ผลการลงประชามติ ผลดี/ผลเสียของรางกฎหมายฯ ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนอิตาลีในชวงกอนการลงประชามติ พบวาสวนใหญมแี นวโนมทีจ่ ะเห็นชอบกับ รางกฎหมายดังกลาว โดยผลสํารวจจากสถาบันวิเคราะหและวิจยั ตลาด IPSOS ทีจ่ ดั ทําขึน้ เพือ่ หนังสือพิมพ Corriere della Sera เมือ่ ปลายเดือนมิถนุ ายนทีผ่ า นมา5 แสดงจํานวนผูต อบแบบสํารวจทีเ่ ห็นดวยกับรางกฎหมายฯ คิดเปนรอยละ 46 ผูท ี่ ไมเห็นดวยคิดเปนจํานวนรอยละ 10 ในขณะทีม่ ปี ระชาชนกลุม ตัวอยางจํานวนรอยละ 20 ไมประสงคจะลงคะแนน และอีก รอยละ 24 ยังไมสามารถตัดสินใจได นอกจากนีใ้ นชวงเดือนเดียวกันยังพบวามีกลุม ตัวอยางเพียงรอยละ 28 เทานัน้ ทีท่ ราบ ถึงการลงประชามติ 6 สือ่ หลายสํานักของอิตาลีมกี ารนําเสนอเหตุผลของการไมเห็นดวยกับการปฏิรปู กฎหมายรัฐธรรมนูญดังกลาว โดยหนังสือพิมพ Il Post พูดถึงการลดจํานวนสมาชิกสภาวาควรกระทําก็ตอ เมือ่ มีกฎหมายอืน่ มาประกอบ เทานัน้ เชนกฎหมายทีร่ บั รองการรักษาสมดุลอํานาจในสภา เพือ่ ปองกันไมใหการเลือกตัง้ กลายเปนการแตงตัง้ ทางออมของกลุม อํานาจกลุม ใดกลุม หนึง่ หรือผลเสียตอแควนขนาดเล็ก ทีม่ โี อกาสมีตวั แทนในสภานอยลง พรอม ทัง้ มองวา คาใชจา ยทีล่ ดลงจากการลดจํานวนสมาชิกสภานัน้ อาจตํ่ากวาทีป่ ระมาณการไวกวาครึง่ และคิดเปน สัดสวนเพียงรอยละ 0.007 7ของรายจายภาครัฐเทานัน้ ซึง่ ไมคมุ คากับความเปนประชาธิปไตยทีเ่ สียไป และอาจ นําไปสูก ารพยายามในการลดรายจายดานอืน่ ๆ ของรัฐในอนาคตดวย ทางดานหนังสือพิมพ Il Fatto Quotidiano ไดเสนอเหตุผลตาง ๆ ทีท่ ําใหไมควรมีการรับรางกฎหมายดังกลาว8 และยังเสนอวาควรมีการลด รายจายภาครัฐในสวนทีส่ นับสนุนตัวแทนสภามากกวาลดจํานวนคน และมองวาไมไดชว ยแกปญ หาทีแ่ ทจริงซึง่ อยูท กี่ ารบริหารของภาครัฐในขณะทีน่ ติ ยสาร Internazionale มองวาการลดจํานวนสมาชิกสภาในครัง้ นีจ้ ะ ทําใหอติ าลีกลายเปนประเทศทีม่ สี ดั สวนผูแ ทนในสภาตอประชากรนอยทีส่ ดุ ในยุโรป เชน จากเดิมทีม่ อี ตั ราสวน พลเมือง 100,000 คน ตอสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร 1 คน ลดลงเหลือเพียง 0.7 คน9
5 6 7 8
อางอิงจาก https://www.ilpost.it/2020/08/22/referendum-taglio-numero-parlamentari/ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2563 เรื่องเดียวกัน เรื่องเดียวกัน
อางอิงจาก https://www.ilfattoquotidiano.it/2020/09/13/taglio-dei-parlamentari-al-referendum-votero-no-e-ho-dieci-ragioni-valide-perfarlo/5928622/ ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2563 9
อางอิงจาก Dossier 25 giugno 2019 – Riduzione del Numero dei Parlamentari หนา 22 สืบคนจาก https://www.senato.it/service/ PDF/PDFServer/BGT/01114482. pdf ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2563
5
รัฐสภาอิตาลี ที่มา: https://www.linkiesta.it/2020/01/taglio-parlamentari-referendum-riforma-costituzionale/
ในสวนของผูท เี่ ห็นชอบกับรางกฎหมายฯ นัน้ มองวานอกจากจะเปนการลดรายจายภาครัฐแลว ยังจะชวยลดขัน้ ตอน กระบวนการผานกฎหมายในสภาใหเกิดประสิทธิภาพ และทําใหเสียงในสภามีความเปนเอกภาพมากขึน้ กวาปจจุบนั รวมทัง้ เสนอวาการแกปญ หาของประชาชนในแตละภูมภิ าคนาจะทําไดโดยดําเนินการผานตัวแทนในสภาทองถิน่ 10 ซึง่ ขณะนีผ้ ลการลง ประชามติไดออกมาอยางเปนทางการแลว โดยผูไ ปใชสทิ ธิสว นใหญไดลงความเห็นชอบกับการรับรางกฎหมายปฏิรปู รัฐธรรมนูญ ดังกลาว ตามรายงานของหนังสือพิมพ Corriere della Sera เมือ่ ชวงหัวคํ่าของวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2563 พบวามีผมู าใช สิทธิลงประชามติคดิ เปนรอยละ 53.84 ของผูม สี ทิ ธิทงั้ หมด ในจํานวนนีม้ ผี ลู งคะแนนเห็นชอบคิดเปนรอยละ 69.5 ในขณะทีผ่ ทู ี่ ลงคะแนนไมเห็นชอบคิดเปนรอยละ 30.411 ซึง่ แมวา จะมีการมองวาจํานวนผูม าใชสทิ ธิทไี่ มมากนักเปนผลมาจากสถานการณ โรคระบาดโควิด 19 ทีย่ งั ไมคลีค่ ลายในยุโรป รวมทัง้ วันเลือกตัง้ อยูใ นชวงของการเปดภาคการศึกษา แตการลงประชามติเพือ่ แกไขรัฐธรรมนูญครัง้ ทีผ่ า นมาในอิตาลีกต็ า งมีผไู ปใชสทิ ธิในจํานวนทีไ่ มสงู มากเชนกัน12 การปฏิรปู ฯ ดังกลาว ซึง่ ถูกมองวาเปนจุดจบของกระบวนการอันยาวนาน อาจเปนเพียงการเริม่ ตนของการปฏิรปู สภาอิตาลี ซึง่ ก็คงตองติดตามกันตอไปวาจะมีผลกระทบตอกระบวนการทางดานนิตบิ ญั ญัตขิ องอิตาลี และจะมีการออก กฎเกณฑอนื่ เพือ่ รองรับการดําเนินงานของสภาทีม่ จี ํานวนสมาชิกลดลงหรือไม
10อางอิงจาก
Referendum 2020, cosa cambia con il taglio dei parlamentari https://youtu.be/-KEcI_qOaL0
11
สืบคนจาก https://www.corriere.it/elezioni/referendum-2020/notizie/risultati-referendum-2020-taglio-parlamentari-bc13ec58-fc2a11ea-aca9-16c79fac234d.shtml ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2563 12
การทําประชามติเพื่อรับรางกฎหมายแกไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ผานมาในอิตาลี ป พ.ศ. 2544 คิดเปนประมาณรอยละ 34 ของผูมีสิทธิทั้งหมด ในขณะที่ป พ.ศ. 2549 คิดเปนรอยละ 52 และในป พ.ศ. 2559 อยูที่ประมาณรอยละ 69 อางอิงจาก https://www.ansa.it/sito/notizie/politica/2020/09/21/referendumcostituzionale-i-precedenti_269f9734-e648-4ca0-af78-32f7b5499992.html ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563
6
แหลงขอมูล (ภาษาอิตาเลียน):
https://www.senato.it/documenti/repository/istituzione/costituzione.pdf (รัฐธรรมนูญอิตาลี)
www.senato.it (เว็บไซตวุฒิสภาอิตาลี) www.camera.it (เว็บไซตสภาผูแทนราษฎรอิตาลี) https://www.gazzettaufficiale.it (เว็บไซตรัฐกิจจานุเบกษาอิตาลี)
แหลงขาว (ภาษาอิตาเลียน):
https://www.ilpost.it/2020/08/22/referendum-taglio-numero-parlamentari/ https://www.ilfattoquotidiano.it/2020/09/13/taglio-dei-parlamentari-al-referendum-votero-no-e-ho-dieci-ragioi-valide-perfarlo/5928622/ https://www.ansa.it/sito/notizie/politica/2020/09/21/referendum-costituzionale-i-precedenti_269f9734-e648-4ca0-af7832f7b5499992.html https://www.corriere.it/elezioni/referendum-2020/notizie/risultati-referendum-2020-taglio-parlamentaribc13ec58-fc2a-11ea-aca 9-16c79fac234d.shtml
ผูออกแบบ : ภัคพล เสนาะกลาง